|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : จัดทำโครงร่าง |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การดู แลผ้สู ูงอายุ โดยชุมชนเพื่อชุมชน |
ผู้แต่ง : |
อรุณวรรณ แสงฤทธิ์ |
ปี : 2562 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
อําเภอกุฉินารายณ์ มีผู้สูงอายุอยู่จํานวน 16,323 คน คิดเป็ นร้อยละ15.95ของประชากร พบว่ามี
ผู้สูงอายุหลายคนอยู่บ้านตามลําพังในขณะที่มีภาวะเจ็บป่ วย ทํากิจวัตรประจําวันได้น้อย จิตใจเหงาหงอย
เศร้าหมองสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมไม่สะอาด กลายเป็ นแหล่งรวมโรค ทําให้ร่างกายอ่อนแอและมีภาวะ
เจ็บป่ วยรุนแรงขึ้นภายในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่ไปอยูในช ่ ่วงพึ่งพิงยาวนานขึ้น ส่งผลกระทบต่อครอบครัว
ทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย และเศรษฐกิจ หากกลุ่มดังกล่าวนี้ได้รับการดูแลตั้งแต่เบื้องต้นให้คงสภาพในการทํา
กิจวัตรประจําวันได้ยาวนานขึ้น ปัญหาดังกล่าวก็จะส่งผลกระทบน้อยลง ซึ่ งในการดูแลจําเป็ นอย่างยิ่งที่
จะต้องใช้เวลาพอควรและจํานวนครั้งในการดูแลต้องต่อเนื่อง และหากรู้จักบริบทของผู้สูงอายุในแต่ละคน
ยิงจะทําให้การดูแลมีความก ่ าวหน้าอย ้ างรวดเร็ว ซึ่งในบทบาทอันจําเป็ นและเหมาะสมนี ่ ้ ผู้ศึกษาได้เล็งเห็น
บุคคลในชุมชนที่มีความพร้อมและมีความเสียสละในการไปดูแล โดยได้รับการสนับสนุนและร่วมมือจาก
34บุคคลที่เป็ นผู้นําซึ่ งมีบทบาทในชุมชนเช่น 53กานัน ผู้ใหญ ํ ่บ้าน สท สอบต ประธานชุมชน ประธาน อสม
ประธานชมรมผู้สูงอายุ ปราชญ์ในหมู่บ้าน ฯลฯ ซึ่ ง 53เป็ นกลุ่มที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาระบบสําคัญใน
ชุมชน จึงสนใจที่จะศึกษาการไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนโดยคนในชุมชน ด้วยการคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ53
ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย จนเครือข่ายฯเห็นวาปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุเป็ นปัญหาของคนในชุมชน และคนใน ่
ชุมชนสามารถดูแลจนผู้สูงอายุมีอาการดีขึ้นได้ จะทําให้ชุมชนมีความต้องการที่จะจัดการดูแลผู้สูงอายุโดย
ชุมชนอยางต ่ ่อเนื่อง และจะเกิดความยังยืน ่ สืบไป53
|
|
วัตถุประสงค์ : |
(1) เพื่อให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน
(2) เพื่อเกิดความยังยืนในการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนเพื่อชุมชน |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้สูงอายุในตำบลบัวขาว ที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด |
|
เครื่องมือ : |
1. แบบประเมินการทํากิจวัตรประจําวัน ADL (Activity of Diary living)ของกรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข
2..แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คําถาม (2Q)
3.แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คําถาม (9Q)
4. การมีส่วนร่วมของชุมชน 5ระดับ |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1. ประชุมคนสําคัญเช่น กานัน ผู้ใหญ ํ ่บ้าน สท สอบต ประธานชุมชน ประธาน อสม ประธานชมรมผู้สูงอายุ ปราชญ์ในหมู่บ้าน ฯลฯ ค้นหาผู้สูงอายุที่มีปัญหาใน
ด้านต่าง ๆ
2 ในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่ วยและการทํากิจวัตรประจําวัน ใช้แบบประเมินการทํา
กิจวัตรประจําวัน(ADL) ประเมินก่อน และหลังการดูแล
3. กลุ่ม 2Q, 9Q ประเมินก่อน และหลังการดูแล |
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
(1)จากการศึกษาพบวาการมีระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยคนในชุมชน สามารถค้น ่ หาปัญหา ได้
ตรงประเด็น การวางแผนการดําเนินการแกไขด้วยการออกแบบกา ้ รดูแล ที่สอดคล้องกบบริบทและ ั
วัฒนธรรมของชุมชน สามารถตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุได้ตรงประเด็น
(2)การดูแลโดยคนในชุมชนจึงมีการดูแลผู้สูงอายุอยางครอบคลุมทุกครัวเรือน ซึ่งในการดูแลจะ ่
มีความเมตตา ความเคารพ ความเอื้ออาทรเพราะผู้สูงอายุต่างอยูใกล้ชิดและเป็ นที่ ่ ความเคารพนับถือกนมา ั
กิจกรรมการดูแลจึงเกิดอยางต ่ ่อเนื่องและยังยืนเรื่อยมา ่ 5 |
|
ข้อเสนอแนะ : |
(1)กาหนดห้วงเวลาออกเยี่ยม อย ํ ่างชัดเจน เนื่องจากผู้สูงอายุรอคอยเครือข่าย บางวันท่านก็จะ
ผิดหวัง
(2) ชักชวนเครือข่ายในวัยหนุ่มสาวหรือให้คําแนะนําในการใช้โซเชียลแก่เครือข่ายฯ ในการ
สื่อสาร ส่งข้อมูล แจ้งปัญหาจากการสังเกตจะเห็นวาชุมชนที่มีเครือข ่ ่ายสังคมออนไลน์ได้ การส่งต่อข้อมูล
จะต่อเนื่อง รวดเร็ว ทําให้บุคลากรเข้าถึงภาวะผู้สูงอายุได้อยางครอบคลุม |
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ไม่มีเอกสารแนบ
|
|
|
|
|