|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : วิจัย |
สถานะ : จัดทำโครงร่าง |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การเปรียบเทียบประสิทธิผลของน้ำเกลือกับยาชงเปลือกพะยอมในการรักษาอาการแผลในช่องปาก |
ผู้แต่ง : |
ศิราภรณ์ มหาโคตร1,ทพ.ญ.ชีวนันท์ เหล่าพงศ์พิชญ์2
แพทย์แผนไทย1,ทันตแพทย์ชำนาญการ2
|
ปี : 2562 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
ปากเปื่อยเป็นแผล เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดคือ แผลแอฟทัส (aphthous ulcer) หรือ “แผลร้อนใน” ซึ่งเป็นโรคที่เกิดกับคนเราเกือบทุกคน แต่จะพบมากในผู้หญิงมากกกว่าผู้ชาย ตำแหน่งที่พบบ่อยได้แก่ ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม บนลิ้น ใต้ลิ้น แผลอาจมีเพียงแห่งเดียวหรือ 2-3 แห่งก็ได้ แผลร้อนในเป็นโรคที่ไม่มีอันตราย แม้ไม่ได้รักษาก็หายได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ จากการสัมภาษณ์หมอพื้นบ้านจำนวน 20 คน พบว่าเปลือกต้นพะยอมเป็นพืชที่มีความถี่ในการใช้มากที่สุด 3 อันดับแรก ซึ่งเปลือกต้นพะยอมที่มีฤทธิ์สมานแผลและลดการอักเสบ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมอพื้นบ้านในจังหวัดกาฬสินธุ์นิยมใช้เปลือกพะยอมอมไว้หรือเคี้ยวรักษาแผลในปาก อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมการอนุรักษ์และเห็นคุณค่าของต้นพะยอมที่มีดอกเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ไม่ให้สูญพันธุ์ |
|
วัตถุประสงค์ : |
วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของน้ำเกลือกับยาชงเปลือกพะยอมในการรักษาอาการแผลในช่องปาก |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคัดเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย(Simple random sampling) |
|
เครื่องมือ : |
แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่บ้วนปากด้วยยาชงผงเปลือกต้นพะยอม 5g/น้ำ 100ml ชงเป็นเวลา 1 นาที เพื่อง่ายต่อการใช้และใช้ทำการทดลอง จำนวน 27 คน และกลุ่มป้วนปากด้วยน้ำเกลือ 5g/น้ำ 100ml(กลุ่มควบคุม) ชงเป็นเวลา 1 นาที 27 คน อมไว้ 1 นาทีและบ้วนทิ้ง หลังแปรงฟัน เช้า-เย็น ติดตามประเมินผลการรักษา 5 วันหลังการรักษา |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|