|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)สามชัย ภายใต้กลไกคนกาฬสินธุ์ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง : Kalasin Happiness Model |
ผู้แต่ง : |
จุฑามาศ วิลาศรี |
ปี : 2562 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) กลุ่มประชากร ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 21 คน ผู้นำชุมชน 47 คน รวมทั้งสิ้น 68 คน โดยวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1. ขั้นศึกษาบริบท/สภาพปัญหาของพื้นที่ในทุกมิติและวางแผนการดำเนินงาน ระยะที่ 2 ขั้นดำเนินงาน ระยะที่ 3 ขั้นติดตามประเมินผลและคืนข้อมูลต่อชุมชน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย กระบวนการกลุ่ม การสังเกต บันทึกการประชุม การวิเคราะห์ข้อมูลข้อเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา |
|
วัตถุประสงค์ : |
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)สามชัย ภายใต้กลไกคนกาฬสินธุ์ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง : Kalasin Happiness Model
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 21 คน ผู้นำชุมชน 47 คน รวมทั้งสิ้น 68 คน |
|
เครื่องมือ : |
กระบวนการกลุ่ม การสังเกต บันทึกการประชุม |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1. ขั้นศึกษาบริบท/สภาพปัญหาของพื้นที่ในทุกมิติและวางแผนการดำเนินงาน ระยะที่ 2 ขั้นดำเนินงาน ระยะที่ 3 ขั้นติดตามประเมินผลและคืนข้อมูลต่อชุมชน |
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|