ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI สถานะ : จัดทำโครงร่าง
   บทความ/วิจัย เรื่อง : Clinical Tracer Highlight : การดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ (AIDS)
ผู้แต่ง : กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลนามน ปี : 2559
     
หลักการและเหตุผล : ผูปวยโรค AIDS ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลนามน ในป 2556 มีจํานวน145 คน ป 2557 พบ รายใหมจํานวน 4 คน และในป 2558 พบผูปวยรายใหมจํานวน 3 คน รวมแลวปจจุบันมีผูปวยที่มารับการรักษาทั้งสิ้น 152 คน ผูติดเชื้อสวนใหญเปนผู ที่ทํางานอยูตางจังหวัด เมื่อมีอาการเจ็บปวยจะกลับมารักษาตัวที่บาน และไมชอบเปดเผยโรค ทําใหการเขาถึงบริการการรักษาดวยยาตานไวรัสเอดสลาชา และสงผลใหผูปวยเสียชีวิตโดยที่ยังมิไดทําการรักษา ซึ่งผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส เสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ป 2556-2558 คิดเปน 2,2,และ 1 รายตามลําดับ ทีม PCT จึงไดดําเนนการพัฒนาระบบการดูแลผูปวย AIDS ใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น  
วัตถุประสงค์ : 1) พัฒนาระบบการเขาถึงบริการการรับการรักษาดวยยาใหสะดวกรวดเร็ว 2) ผูปวยโรคเอดสไมเสียชีวิตจากการติดโรคฉวยโอกาส  
กลุ่มเป้าหมาย : 1) ผูติดเชื้อเขาถึงบริการยาตานไวรัสเอดสลาชา 2) ผูปวยโรคเอดสเสียชีวิตจากการติดโรคฉวยโอกาส  
เครื่องมือ :  
ขั้นตอนการดำเนินการ : กระบวนการเพื่อใหไดคุณภาพ การเขาถึงบริการ 1) การคนหาผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดสรายใหมในผูรับบริการกลุมฝากครรภ, ผูปวยวัณโรค, กลุม เสี่ยง, ผูปวยเรื้อรังและผูสมัครใจ 2) สํารวจแหลงบริการทางเพศ เพื่อทราบความเสี่ยงและการเขาถงบริการ การคัดกรองและการประเมิน 1) ใหการปรึกษากอน – หลังตรวจเลือดและแจงผลการตรวจเลือดภายในวันเดียว 2) ลงทะเบียนผูติดเชอเอชไอวี/ผูปวยเอดส ตามโปรแกรม NAP การรักษา 1) ใหการปรึกษา ผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ที่ผลเลือดเปนบวก เรื่องการปฏิบัติตัวและการเขาถึง บริการยาตานไวรัสเอดส 2) ใหการดูแลรักษาผูติดเชื้อ/ผูปวยเอดสตามแนวทางการดูแลรักษาโดย 2.1 ใหคําปรึกษาเรื่องยาตานไวรัสเอดสและตรวจ CD4 ผูติดเชื้อเอชไอวี รายใหมทุกราย 2.2 ตรวจชันสูตร Sputum AFB,CxR , CBC, FBS, Cr, ALT, Cholesterol, Triglyceride, LFT ในผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเอดส ที่มีคุณสมบัติในการรับยาตานไวรัสรายใหมทุกราย 2.3 ใหบริการยาตานไวรัส ตามเกณฑมาตรฐาน 2.4 ติดตามการตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน , VL 1 ครั้ง/ป หรือตามขอบงชี้รายบุคคล 2.5 ตรวจคัดกรอง วัณโรค, ไวรัสตับอักเสบ B และ C และไดรับการรักษาหรือสงตอตาม มาตรฐาน 2.6 ตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก ผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเอดส หญิงทุกราย 2.7 มีแนวปฏิบัติในการดูแลรักษา และมีระบบติดตามประเมินผล โดยใชโปรแกรม NAP และโปรแกรม HIV QUAL-T  
     
ผลการศึกษา : ตัวชี้วัด เปาหมาย ป 2556 ป 2557 ป 2558 1. ผูติดเชื้อรายใหมที่มีขอบงชี้ไดรับยาตาน 100 % 100 100 100 2. ผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดสที่มีผลCD4 <200 cell/mm3ที่มีโอกาสเกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาส < 5 % 5.92 (8 คน) 6.86 (7 คน) 5.94 (6 คน) 3. ผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส เสียชีวิตดวยโรคติดเชื้อ ฉวยโอกาส < 5 % 1.48 (2 คน) - 0.65(1 ราย)  
ข้อเสนอแนะ : 1) มีการติดตามผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส โดยเจาหนาที่ผูรับผิดชอบและแกนนํากลุมเพื่อนเพื่อใหเขาถึง บริการยาตานไวรัสเอดส และการดูแลรักษาตามมาตรฐาน 2) จัดใหมีจุดบริการถุงยางอนามัย ใหทั่วถึงและครอบคลุมทุกหมูบาน ที่สุขศาลา 3) พัฒนาศักยภาพโดยการอบรมฟนฟูความรู แพทย เภสัช พยาบาล เจาหนาที่ชันสูตรเพื่อใหเปนไปตาม มาตรฐานการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)