ประเภทบทความ/งานวิจัย : เรื่องเล่า สถานะ : จัดทำรายงาน
   บทความ/วิจัย เรื่อง : 1. ชื่อผลงานนวตกรรม ตุ๊งติ๊งสดใส ใส่ใจไตคุณ
ผู้แต่ง : นางสาวบุญญาภา เจริญจิรวัส ปี : 2562
     
หลักการและเหตุผล : ปัจจุบันสถานการณ์โรคไตทั้งโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย ความชุกของคนไข้ โรคไตเสื่อมเรื้อรัง ประมาณ 17.6 % หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนั้น มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รอการบำบัดทดแทนไต เช่น การล้างไต การเปลี่ยนไตจำนวนมาก และในแต่ละปีจะมีคนเป็นโรคไตเพิ่มขึ้นปีละ ประมาณ 7,000-10,000 คน และกระทรวงสาธารณสุข เผยคนไทยมีอัตราการตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชั่วโมงละ 37 คน สาเหตุจากพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เร่งพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่ากลาง จึงได้คิดค้นนวตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ไต ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัน เพราะไต เป็นอวัยวะสำคัญ ที่มีหน้าที่หลักคือกรองของเสียที่อยู่ในเลือดและขับสารพิษออกทางร่างกายทางน้ำปัสสาวะ ส่วนหน้าที่อื่นๆคือปรับปริมาณน้ำในร่างกายให้มีปริมาณที่เหมาะสม ปรับสมดุลกรด – ด่าง ปรับปริมาณแร่ธาตุในร่างกายให้อยู่ระดับสมดุล ร่วมถึงสร้างฮอร์โมนที่ช่วยให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เปรียบได้ว่าไตมีหน้าที่คล้ายตะแกรงกรองของเสียและขับออก เมื่อเกิดภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ ทำให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย อีกทั้งยังทำให้ระดับน้ำ เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความไม่สมดุล ผลคือทำให้ระบบการทำงานภายในร่างกายเกิดความผิดปกติ และเป็นอันตรายแก่ชีวิต ซึ่งผู้ป่วย NCDs มักมีแนวโน้มที่เกิดความเสี่ยงต่อภาวะไตวายเรื้อรังได้มากกว่าคนปกติทั่วไป จากภาวะโรคที่เป็น ร่วมทั้งการรักษาที่ได้รับ และปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  
วัตถุประสงค์ : ปัจจุบันสถานการณ์โรคไตทั้งโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย ความชุกของคนไข้ โรคไตเสื่อมเรื้อรัง ประมาณ 17.6 % หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนั้น มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รอการบำบัดทดแทนไต เช่น การล้างไต การเปลี่ยนไตจำนวนมาก และในแต่ละปีจะมีคนเป็นโรคไตเพิ่มขึ้นปีละ ประมาณ 7,000-10,000 คน และกระทรวงสาธารณสุข เผยคนไทยมีอัตราการตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชั่วโมงละ 37 คน สาเหตุจากพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เร่งพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่ากลาง จึงได้คิดค้นนวตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ไต ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัน เพราะไต เป็นอวัยวะสำคัญ ที่มีหน้าที่หลักคือกรองของเสียที่อยู่ในเลือดและขับสารพิษออกทางร่างกายทางน้ำปัสสาวะ ส่วนหน้าที่อื่นๆคือปรับปริมาณน้ำในร่างกายให้มีปริมาณที่เหมาะสม ปรับสมดุลกรด – ด่าง ปรับปริมาณแร่ธาตุในร่างกายให้อยู่ระดับสมดุล ร่วมถึงสร้างฮอร์โมนที่ช่วยให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เปรียบได้ว่าไตมีหน้าที่คล้ายตะแกรงกรองของเสียและขับออก เมื่อเกิดภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ ทำให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย อีกทั้งยังทำให้ระดับน้ำ เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความไม่สมดุล ผลคือทำให้ระบบการทำงานภายในร่างกายเกิดความผิดปกติ และเป็นอันตรายแก่ชีวิต ซึ่งผู้ป่วย NCDs มักมีแนวโน้มที่เกิดความเสี่ยงต่อภาวะไตวายเรื้อรังได้มากกว่าคนปกติทั่วไป จากภาวะโรคที่เป็น ร่วมทั้งการรักษาที่ได้รับ และปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  
กลุ่มเป้าหมาย : ปัจจุบันสถานการณ์โรคไตทั้งโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย ความชุกของคนไข้ โรคไตเสื่อมเรื้อรัง ประมาณ 17.6 % หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนั้น มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รอการบำบัดทดแทนไต เช่น การล้างไต การเปลี่ยนไตจำนวนมาก และในแต่ละปีจะมีคนเป็นโรคไตเพิ่มขึ้นปีละ ประมาณ 7,000-10,000 คน และกระทรวงสาธารณสุข เผยคนไทยมีอัตราการตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชั่วโมงละ 37 คน สาเหตุจากพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เร่งพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่ากลาง จึงได้คิดค้นนวตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ไต ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัน เพราะไต เป็นอวัยวะสำคัญ ที่มีหน้าที่หลักคือกรองของเสียที่อยู่ในเลือดและขับสารพิษออกทางร่างกายทางน้ำปัสสาวะ ส่วนหน้าที่อื่นๆคือปรับปริมาณน้ำในร่างกายให้มีปริมาณที่เหมาะสม ปรับสมดุลกรด – ด่าง ปรับปริมาณแร่ธาตุในร่างกายให้อยู่ระดับสมดุล ร่วมถึงสร้างฮอร์โมนที่ช่วยให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เปรียบได้ว่าไตมีหน้าที่คล้ายตะแกรงกรองของเสียและขับออก เมื่อเกิดภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ ทำให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย อีกทั้งยังทำให้ระดับน้ำ เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความไม่สมดุล ผลคือทำให้ระบบการทำงานภายในร่างกายเกิดความผิดปกติ และเป็นอันตรายแก่ชีวิต ซึ่งผู้ป่วย NCDs มักมีแนวโน้มที่เกิดความเสี่ยงต่อภาวะไตวายเรื้อรังได้มากกว่าคนปกติทั่วไป จากภาวะโรคที่เป็น ร่วมทั้งการรักษาที่ได้รับ และปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  
เครื่องมือ :  
ขั้นตอนการดำเนินการ : ปัจจุบันสถานการณ์โรคไตทั้งโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย ความชุกของคนไข้ โรคไตเสื่อมเรื้อรัง ประมาณ 17.6 % หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนั้น มีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รอการบำบัดทดแทนไต เช่น การล้างไต การเปลี่ยนไตจำนวนมาก และในแต่ละปีจะมีคนเป็นโรคไตเพิ่มขึ้นปีละ ประมาณ 7,000-10,000 คน และกระทรวงสาธารณสุข เผยคนไทยมีอัตราการตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชั่วโมงละ 37 คน สาเหตุจากพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เร่งพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่ากลาง จึงได้คิดค้นนวตกรรมในการป้องกันและควบคุมรักษาไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ไต ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัน เพราะไต เป็นอวัยวะสำคัญ ที่มีหน้าที่หลักคือกรองของเสียที่อยู่ในเลือดและขับสารพิษออกทางร่างกายทางน้ำปัสสาวะ ส่วนหน้าที่อื่นๆคือปรับปริมาณน้ำในร่างกายให้มีปริมาณที่เหมาะสม ปรับสมดุลกรด – ด่าง ปรับปริมาณแร่ธาตุในร่างกายให้อยู่ระดับสมดุล ร่วมถึงสร้างฮอร์โมนที่ช่วยให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เปรียบได้ว่าไตมีหน้าที่คล้ายตะแกรงกรองของเสียและขับออก เมื่อเกิดภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ ทำให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย อีกทั้งยังทำให้ระดับน้ำ เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความไม่สมดุล ผลคือทำให้ระบบการทำงานภายในร่างกายเกิดความผิดปกติ และเป็นอันตรายแก่ชีวิต ซึ่งผู้ป่วย NCDs มักมีแนวโน้มที่เกิดความเสี่ยงต่อภาวะไตวายเรื้อรังได้มากกว่าคนปกติทั่วไป จากภาวะโรคที่เป็น ร่วมทั้งการรักษาที่ได้รับ และปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  
     
ผลการศึกษา :  
ข้อเสนอแนะ :  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ไม่มีเอกสารแนบ