|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การพัฒนาระบบจัดลำดับรถเข็นนั่งเข้าตรวจโรคกับแพทย์ |
ผู้แต่ง : |
ญาณิกา วุฒิสาร และคณะ |
ปี : 2563 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
ในปัจจุบันนี้งานแผนกผู้ป่วยนอกพบว่าผู้มารับบริการเป็นผู้สูงอายุมากขึ้น ,มีบางรายเดินไม่สะดวก ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย และ ผู้ป่วยไม่มีญาติ จึงใช้รถเข็นนั่งเพิ่มมากขึ้นจากการเก็บข้อมูล 3 เดือน คือมีนาคม , เมษายน และ พฤษภาคม 2563 พบจำนวนการใช้รถเข็นในแต่ละวันคิดเป็นร้อยละ 8.60 , 11.32 และ 12.18 ตามลำดับ จึงเกิดปัญหา ในการจัดลำดับเข้าตรวจกับแพทย์มีรถเข็นจอดเกะกะ, การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไม่สะดวก โดยเฉพาะวันที่มีคลินิกโรคเรื้อรัง จะมีผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยไม่มีญาติจำนวนเพิ่มขึ้นอีก จึงได้เกิดความไม่พึงพอใจทั้งใน ผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ |
|
วัตถุประสงค์ : |
เพื่อให้ผู้ป่วยรถเข็นนั่งได้รับการเข้าตรวจโรค ตามความเหมาะสมของอาการ และสามารถลำเลียงผู้ป่วย ได้คล่องตัวขึ้น |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้รับบริการงานผู้ป่วยนอก |
|
เครื่องมือ : |
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1. นำข้อมูล และ ปัญหาที่พบ มาประชุมกับ เจ้าหน้าที่ผู้ เกี่ยวข้องในแผนกผู้ป่วยนอก เพื่อค้นหาสาเหตุ และ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
2.กำหนดความเร่งด่วนของอาการผู้ป่วยโดยใช้บัตรสี
3. กำหนดพื้นที่จอดรถเข็นนั่งให้รอตรวจตามลำดับ คิวตรวจ
4. กรณีผู้ป่วยไม่มีญาติเข็น ทำหน้าที่ รับบัตรนัด ,รับยาแทนผู้ป่วย และบริการอื่นๆ เช่นเข้าห้องน้ำ
ส่งตรวจพิเศษ
5 . ช่วยบริการเข็นส่งตรวจในกรณีพนักงานเปลติดภารกิจอื่นเช่นไป Admit และ ลงพัก 11.00 น.
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
ลำดับ กรกฎาคม 2563 กันยายน 2563
ร้อยละความพึงพอใจผู้ป่วยใช้บริการรถเข็น รอประเมิน
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)
|
|
|
|
|