ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R สถานะ : จัดทำรายงาน
   บทความ/วิจัย เรื่อง : คุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพ รพ.ห้วยผึ้ง
ผู้แต่ง : วันทนีย์ สีสิงห์และคณะ ปี : 2563
     
หลักการและเหตุผล : แผนยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือที่สามารถใช้ในการบอกเล่าและสื่อสารถึงยุทธศาสตร์ขององค์กร และทำให้ผู้บริหารและบุคลากรมีความชัดเจนในยุทธศาสตร์ขององค์กรมากขึ้นที่สำคัญคือพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่สำคัญ และนำข้อมูลดังกล่าวมาจัดทำแผนยุทธศาสตร์ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผลของเป้าประสงค์ต่างๆ ภายใต้แต่ละมิติคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยเป้าประสงค์เหล่านี้จะสอดคล้องและสนับสนุนต่อวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ ขององค์กร ดังนั้น การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเพื่อตอบสนองการดำเนินงานยุทธศาสตร์ขององค์กร จึงมี ความสำคัญ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ที่ตั้งไว้ การศึกษานี้จึงต้องการค้นหาว่าบุคลากรที่รับผิดชอบ งานยุทธศาสตร์มีคุณลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ทราบและวางแผนในการพัฒนาบุคลากรต่อไป  
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อทราบคุณลักษณะในการดำเนินงานยุทธศาสตร์ของผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ตาม เป้าประสงค์ 2. เพื่อนำประเด็นปัญหาด้านคุณลักษณะที่พบไปจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากร  
กลุ่มเป้าหมาย : ผู้รับผิดชอบงานแผนและยุทธศาสตร์ทุกคน  
เครื่องมือ : 1. อ้างอิงแบบประเมินคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์ สุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 2. การแปลผลระดับคุณลักษณะ ระดับ 5 หมายถึง กลุ่มเป้าปมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ มากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง กลุ่มเป้าปมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ มาก ระดับ 3 หมายถึง กลุ่มเป้าปมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง กลุ่มเป้าปมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ น้อย ระดับ 1 หมายถึง กลุ่มเป้าปมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ น้อยที่สุด  
ขั้นตอนการดำเนินการ : 1. จัดประชุมการดำเนินงานยุทธศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2562 2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประเมินคุณลักษณะของบุคลากรแก่ผู้ตอบแบบสอบถาม 3. แจกแบบประเมินตนเองให้ผู้ที่เข้าร่วมประชุม (ประเมินคุณลักษณะผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์และผู้รับผิดชอบเป้าประสงค์) 4. นำข้อมูลมาแปลผลคะแนนการประเมินตนเอง 5. นำผลการประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย 6. นำเสนอผลการศึกษา  
     
ผลการศึกษา : จากการศึกษา การประเมินคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพที่ใช้แบบสอบถาม จำนวน 2 ตอน คือตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 การแสดงความคิดเห็นในการประเมินใช้การประเมิน 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า 7.1 ข้อมูลทั่วไป ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ โดยเริ่ม จากการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดง เพศ ตำแหน่ง รับผิดชอบเป้าประสงค์ ประเภทอาชีพ ลักษณะงานให้บริการ และปฏิบัติงานในหน่วยงาน คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 3 7.5 หญิง 37 92.5 รวม 40 100 ตำแหน่ง ทันตกรรม/จพ ทันตกรรม 2 5 เภสัชกรรม /จพ เภสัชกรรม 2 5 พยาบาล 27 67.5 เทคนิคการแพทย์ 1 2.5 นักวิชาการสาธารณสุข 4 10 แพทย์แผนไทย 2 5 โภชนาการ 1 2.5 จพ.ธุรการ 1 2.5 รวม 40 100 คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ รับผิดชอบยุทธศาสตร์จังหวัดเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1 6 15 เป้าประสงค์ที่ 2 6 15 เป้าประสงค์ที่ 3 1 2.5 เป้าประสงค์ที่ 4 1 2.5 เป้าประสงค์ที่ 5 1 2.5 รวม 15 37.5 ประเภท ข้าราชการ 28 70 พนักงานราชการ 1 2.5 ลูกจ้างประจำ 0 0 ลูกจ้างชั่วคราว 11 27.5 รวม 40 100 ลักษณะการให้บริการแก่ผู้ป่วยและประชาชน ผู้บริหาร 1 2.5 ให้บริการโดยตรง 28 70 ไม่ได้ให้บริการโดยตรง 11 27.5 รวม 40 100 คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ กรณีที่เป็นพยาบาลปฏิบัติงานในหน่วยงาน งานบริหารกลุ่มการพยาบาล 1 2.5 งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 4 5 งานฝากครรภ์ 3 7.5 งานห้องผ่าตัด /วิสัญญี 1 2.5 งานบริการพยาบาลในชุมชน 5 12.5 งานผู้ป่วยนอก 5 12.5 งานผู้ป่วยใน 4 5 งานห้องคลอด 3 7.5 งานควบคุมป้องกันและการติดเชื้อ 1 2.5 รวม 27 67.5 จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย กล่าวคือ เพศหญิงและเพศชาย ร้อยละ 92.5 และร้อยละ 7.5 ตามลำดับ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นพยาบาล (ร้อยละ 67.5) ลองลงมานักวิชาการสาธารณสุข (ร้อยละ 10)และน้อยสุด เทคนิคการแพทย์ โภชนาการ และ จพ.ธุรการ (ร้อยละ2.5) ในส่วนเป้าประสงค์งผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ พบว่า รับผิดชอบเป้าประสงค์ที่1 และ2(ร้อยละ 15) และผู้รับผิดชอบเป้าประสงค์ที่ 3,4,5 (ร้อยละ2.5) ส่วนใหญ่แล้วเป็นข้าราชการ (ร้อยละ70) ลองลงมา เป็นลูกจ้างชั่วคราว (ร้อยละ27.5) น้อยสุด พนักงานราชการ (ร้อยละ 2.5)งานให้บริการแก่ประชาชนส่วนใหญ่ให้บริการโดยตรง (ร้อยละ70)ลองลงมาไม่ได้ให้บริการโดยตรง(ร้อยละ27.5) น้อยสุดคือผู้บริหาร (ร้อยละ2.5) และพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงาน ส่วนใหญ่แล้วเป็นงานด้านบริการพยาบลในชุมชนและงานผู้ป่วยนอก (ร้อยละ12.5) ลองลงมาเป็นงานอุบัติเหตุฉุกเฉินและงานผู้ป่วนใน (ร้อยละ5) น้อยสุดปฏิบัติงานห้องผ่าตัดและงานควบคุมป้องกันการติดเชื้อ (ร้อยละ2.5) 7.2 ผลการประเมินคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพ จากการศึกษาประสิทธิผลของการประเมินคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพ ที่ใช้แบบสอบถาม ตอนที่ 2 การแสดงความคิดเห็นในการประเมินใช้การประเมิน 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน และหลังการการประเมินมีผลคะแนนดังนี้ ตารางที่ 2 จำแนกคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพ คุณลักษณะที่จำเป็น 1 2 3 4 5 จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ 24.ทักษะการสร้างทีม/เครือข่าย 21 52.5 18 45 24 60 9 22.5 0 0 31.ทักษะการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง และพัสดุ การปฏิบัติงานบัญชีการวิเคราะห์ด้านการเงิน 9 22.5 19 47.5 19 47.5 8 20 6 15 2 5.ทักษะการพัฒนาสุขศาลาให้เป็นศูนย์กลางในการจัดการคุณภาพชีวิตในชุมชน 7 17.5 12 30 23 57.5 1 2.5 0 0 10.มีความรู้เรื่อง ป้องกันดูแล รักษาส่งเสริม และฟื้นฟู3 โรค 7 17.5 10 25 22 55 13 32.5 0 0 34.ทักษะการวิเคราะห์ตัวชี้วัดประสิทธิภาพทางการเงิน 7 17.5 14 35 22 55 10 25 0 0 39.ทักษะการสังเคราะห์องค์ความรู้ 4 ระยะ คือ การจัดทำโครงร่าง การสร้างเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานองค์ความรู้ 7 17.5 13 32.5 26 65.5 7 17.5 0 0 40. การแสวงหาความเป็นเลิศทางการบริหารกับหน่วยงานภาครัฐเอกชน เพื่อนำมาปรับปรุงใช้ของหน่วยงาน 7 17.5 13 32.5 27 67.5 6 15 0 0 2.ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน พชอ. 6 15 16 40 19 47.5 2 5 0 0 คุณลักษณะที่จำเป็น 1 2 3 4 5 จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ 9.ทักษะการประยุกต์และนำภูมิปัญญาท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนมาใช้ในการดูแลสุขภาพ 6 15 15 37.5 21 52.5 11 27.5 0 0 11.การปฏิบัติตามมาตรฐานการดูแลและการส่งต่อ 6 15 8 20 23 57.5 15 37.5 0 0 12.ทักษะการมองเชิงระบบและมองภาพองค์รวม 6 15 12 30 24 60 11 27.5 0 0 13. .มีความรู้เรื่อง ป้องกันดูแลรักษา ส่งเสริมและฟื้นฟู 3 โรค 6 15 11 27.5 23 57.5 13 32.5 0 0 14.ทักษะการเป็น Facilitator ได้แก่ การสื่อสาร การอำนวยการและการประสานงาน 6 15 12 30 26 65 9 22.5 0 0 33.ทักษะการควบคุมภายใน 6 15 19 47.5 21 52.5 8 20 0 0 35.ทักษะการใช้โปรแกรมการบันทึกการให้บริการของหน่วยงาน(HosXp) 6 15 15 37.5 24 60 7 17.5 6 15 2 37.ทักษะในการวิเคราะห์และประมวลผลรายงานตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 6 15 11 27.5 22 55 11 27.5 7 17.5 1 38.ทักษะการนำเสนอสารสนเทศด้านสุขภาพ 6 15 15 37.5 21 52.5 10 25 6 15 2 1.ความรู้ความเข้าใจในระบบสุขภาพชุมชน 5 12.5 12 30 24 60 2 5 0 0 8.มีส่วนร่วมในการดำเนินงานในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน 5 12.5 11 27.5 27 67.5 10 25 0 0 15.ทักษะการคัดกรอง 5 12.5 10 25 29 72.5 9 22.5 6 15 2 16.ทักษะในการตรวจเฝ้าระวังการระบาดของโรค และเฝ้าระวังภัยสุขภาพ 5 12.5 14 35 25 62.5 10 25 7 17.5 1 คุณลักษณะที่จำเป็น 1 2 3 4 5 จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ 18.แยกประเภทกลุ่มเสี่ยง 5 12.5 9 22.5 26 65 12 30 6 15 2 19.มีความรู้เกี่ยวกับระบบการไหลเวียนข้อมูล ข่าวสาร การนำไปใช้ประโยชน์ 5 12.5 12 30 25 62.5 10 25 6 15 2 27.ทักษะการติดตามแรงจูงใจะสม 5 12.5 13 32.5 25 62.5 10 25 0 0 32.ทักษะการวิเคราะห์ต้นทุนหน่วยบริการ(Unit cost) 5 12.5 18 45 23 57.5 8 20 0 0 3.ความสามารถในการบูรณาการการทำงานกับภาคีที่เกี่ยวข้องในระบบสุขภาพ 4 10 13 32.5 18 45 13 32.5 4 10 3 7.ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน 4 10 12 30 22 55 5 12.5 0 0 20. ทักษะการดูแลรักษาผู้ป่วยรายโรคและครอบครัว 4 10 11 27.5 26 65 10 25 6 15 2 21. ทักษะในการเฝ้าระวังสถานการณ์โรค 4 10 8 20 28 70 13 32.5 0 0 23.ความรู้/ความเข้าใจในระบบการส่งต่อ 4 10 12 30 25 62.5 12 30 0 0 25.ความสามารถวิเคราะห์และจัดโปรแกรมให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย รายบุคคล/กลุ่มรายโรค 4 10 14 35 26 65 9 22.5 0 0 30. ทักษะการวิเคราะห์ CAP (เพื่อการพัฒนา) 4 10 16 40 25 62.5 8 20 0 0 36.ทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสาร online (VDO/web conference) 4 10 13 32.5 20 50 6 15 0 0 4.ทักษะการดำเนินงานสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ครัวเรือน 3 7.5 15 37.5 19 47.5 6 15 0 0 คุณลักษณะที่จำเป็น 1 2 3 4 5 จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ 6.ความสามารถใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 3 7.5 13 32.5 21 52.5 6 15 0 0 17.ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล 3 7.5 11 27.5 21 52.5 8 20 6 15 2 22.ปฏิบัติตามแนวทางการรักษาโรค 3 7.5 9 22.5 28 70 13 32.5 0 0 26.Service mind 3 7.5 10 25 28 70 11 27.5 6 15 2 28.ทักษะ/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมา 3 7.5 15 37.5 25 62.5 9 22.5 6 15 2 29.ทักษะวิเคราะเชื่อมโยงแผนพัฒนาบุคลากรสู่การปฏิบัติ 3 7.5 18 45 21 52.5 11 27.5 0 จากตารางที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมโปรแกรมจำแนกคุณลักษณะของบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์สุขภาพ จำนวนทั้งหมด 40 คน คิดเป็นร้อยละ100 โดยจำแนกออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ มากที่สุด อยู่ระดับ 5 กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ มาก อยู่ระดับ4 กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ ปานกลาง อยู่ระดับ 3 กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ น้อย อยู่ระดับ2 และกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการแสดงพฤติกรรมตามคุณลักษณะนี้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพในระดับ น้อยที่สุด อยู่ระดับ1 ตารางที่3 จำแนกคุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 5 ระดับคะแนนจำแนกคุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 5 จำนวน 5 เรื่อง อันดับ คุณลักษณะ จำนวน(คน) ร้อยละ 1 ทักษะในการวิเคราะห์และประมวลผลรายงานตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 7 17.5 2 ทักษะในการตรวจเฝ้าระวังการระบาดของโรค และเฝ้าระวังภัยสุขภาพ 7 17.5 3 ทักษะการคัดกรอง 6 15 4 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล 6 15 5 แยกประเภทกลุ่มเสี่ยง 6 15 ตารางที่ 3 จะเห็นได้ว่ากลุ่มเป้าหมายมีคุณลักษณะในการปฏิบัติงานมีคุณลักษณะระดับ5 ส่วนใหญ่คือทักษะในการวิเคราะห์และประมวลผลรายงานตัวชี้วัดเป้าประสงค์ และทักษะในการตรวจเฝ้าระวังการระบาดของโรค และเฝ้าระวังภัยสุขภาพ คิดเป็น (ร้อยละ17.5) ลองลงมา เรื่องทักษะการคัดกรอง ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล และแยกประเภทกลุ่มเสี่ยง คิดเป็น(ร้อยละ 15) ตารางที่ 4 จำแนกคุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 1 ระดับจำแนกคุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 1 จำนวน 5 เรื่อง อันดับ คุณลักษณะ จำนวน(คน) ร้อยละ 1 ทักษะการสร้างทีม/เครือข่าย 21 52.5 2 ทักษะการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง และพัสดุ การปฏิบัติงานบัญชีการวิเคราะห์ด้านการเงิน 9 22.5 3 ทักษะการพัฒนาสุขศาลาให้เป็นศูนย์กลางในการจัดการคุณภาพชีวิตในชุมชน 7 17.5 4 มีความรู้เรื่อง ป้องกันดูแล รักษาส่งเสริม และฟื้นฟู3 โรค 7 17.5 5 ทักษะการวิเคราะห์ตัวชี้วัดประสิทธิภาพทางการเงิน 7 17.5 ตารางที่ 4 จะเห็นได้ว่ากลุ่มเป้าหมายมีคุณลักษณะในการปฏิบัติงานมีคุณลักษณะระดับ1 อยู่จำนวน 5 ข้อ ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง ทักษะการสร้างทีม/เครือข่าย จำนวน 21 คน คิดเป็น (ร้อยละ 52.5) ลองลงมา ทักษะการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง และพัสดุ การปฏิบัติงานบัญชีการวิเคราะห์ด้านการเงิน จำนวน 9 คน (คิดเป็นร้อยละ22.5) และ จำนวน 3 ข้อ ทักษะการพัฒนาสุขศาลาให้เป็นศูนย์กลางในการจัดการคุณภาพชีวิตในชุมชน มีความรู้เรื่อง ป้องกันดูแล รักษาส่งเสริม และฟื้นฟู3 โรค และ ทักษะการพัฒนาสุขศาลาให้เป็นศูนย์กลางในการจัดการคุณภาพชีวิตในชุมชน จำนวน 7 คน คิดเป็น (ร้อยละ17.5) ผลจากการศึกษาพบว่าคุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 5 คือมากที่สุด มีทั้งหมด 5 เรื่องจาก ที่ประเมินคุณลักษณะบุคลากรทั้งหมด 40 เรื่อง และ คุณลักษณะของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ระดับ 1 อยู่ 5เรื่อง จากที่ประเมินคุณลักษณะบุคลากรทั้งหมด 40เรื่อง ดังนั้นข้อมูลการประเมินคุณลักษณะของบุคลากร ที่มีสมรรถนะระดับ 1 อยู่ในระดับ น้อยที่สุด จำนวน 5 เรื่อง ผู้วิจัยได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาและจะนำปัญหาทั้ง 5 เรื่อง ไปวิเคราะห์และนำไปพัฒนางานในปีงบประมาณ 2564 ต่อไป  
ข้อเสนอแนะ : 1. ควรมีการจำแนกคุณลักษณะที่ตอบสนองการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายเป็นรายเป้าประสงค์ 2. ควรมีการประเมินคุณลักษณะตามตัวชี้วัดที่รับผิดชอบ 3. ควรมีการประเมินความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานรายเป้าประสงค์  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ไม่มีเอกสารแนบ