|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : ส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ |
ผู้แต่ง : |
เลยณภา โคตรแสนเมือง |
ปี : 2560 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
จากการวิเคราะห์ปัญหาผู้สูงอายุที่ผ่านมา พบว่า การคัดกรองและดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพยังไม่ครอบคลุม ผู้สูงอายุขาดผู้ดูแลและส่วนใหญ่ยังไม่สามารถดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานที่พึงประสงค์ การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายยังขาดความชัดเจนและต่อเนื่อง และเป็นลักษณะต่างคนต่างทำ จากการดำเนินงานดังกล่าวได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มวัยสูงอายุ
จากการสำรวจภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุตำบลท่าคันโทพบว่า มีชมรมผู้สูงอายุทั้งหมดจำนวน 1ชมรม จำนวน 13หมู่บ้าน มีการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพและเพิ่มศักยภาพหรือขีดความสามารถของสถานบริการโดยเพิ่มชมรมในระดับหมู่บ้านขึ้นเพื่อขยายขอบเขตการเข้าถึงบริการเป็นเพิ่มชมรม 13 ชมรมในหมู่บ้าน ให้สามารถจัดบริการด้านสุขภาพที่ตอบสนองต่อความต้องการและความจำเป็นของผู้สูงอายุได้ รวมทั้งได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยที่เหมาะสมกับความต้องการตามความจำเป็นและตามสภาพแวดล้อมและวิถีการดำเนินชีวิตจากโรงพยาบาล เปิดโรงเรียนผู้สูงอายุโดยเชื่อมโยงกับภาคีเครือข่าย กศน. ,เทศบาล,สาธารณสุข,โรงเรียนในการดำเนินงาน ในส่วนของคลินิกโรคเบาหวานความดันจัดให้มีกิจกรรม การคัดกรองและเสริมสุขในวันคลิกนิกเพื่อคัดกรองก่อนส่งเยี่ยมบ้าน โดยผลลัพธ์ที่ได้พบว่าก่อนทำกิจกรรมพบว่ามีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 12 ภาวะเครียดจากสภาพเศรษฐกิจและครอบครัวขาดผู้ดูแลร้อยละ28 หลังทำกิจกรรมพบว่าไม่มีภาวะซึมเศร้า ยังเหลือภาวะเครียดร้อยละ 2 ที่เป็นปัญหาคู่ครองเสียชีวิ
|
|
วัตถุประสงค์ : |
1. เพื่อส่งเสริมป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต
3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการสร้างสุข และจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้น
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้สูงอายุ 60 ปี ที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรัง |
|
เครื่องมือ : |
แบบประเมิน 2 Q / 9Q
แบบประเมิน ADL
แบบประเมินคุณภาพชีวิต
แบบประเมินความสุข |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1.ค้นหาและสร้างภาคีเครือข่ายที่มีวิสัยทัศน์และตัวชี้วัดเดียว
2.สร้างความตระหนักร่วมกันโดยใช้ข้อมูลและผลงานเดียวกัน
3.ประสานงานและสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
4.สร้างระบบการทำงานแบบ BUDDY KPI
5.สรุปผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|