ประเภทบทความ/งานวิจัย : วิจัย สถานะ : จัดทำโครงร่าง
   บทความ/วิจัย เรื่อง : ผลการใช้แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วย Sever Sepsis โรงพยาบาล ร่องคำ
ผู้แต่ง : โศรดา ชุมนุ้ย ปี : 2560
     
หลักการและเหตุผล : เนื่องจากปัจจุบัน Septic shock/ Sever Sepsis เป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำคัญ เพราะมีอัตราตายที่สูงและมีอุบัติการณ์สูงใน รพ ร่องคำ เพราะปัจจุบันมีผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น เช่นผู้ป่วย Cellulitis UTI Infective diarrhea Pneumonia Leptospirosis เหตุที่อัตราตายในภาวะ Septic shock ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ถึงแม้จะมีวิวัฒนาการก็ตาม ซึ่งผลการรักษาจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับแพทย์และพยาบาล มีความเข้าใจในพยาธิสรีรวิทยาของโรค การดำเนินของโรค แนวทางการรักษา ตลอดจนการประเมินและเฝ้าระวังผลการรักษา ซึ่งคาดหวังว่าจะทำให้ผู้ป่วย Septic shock มีอัตราการตายที่ลดลงได้ โรงพยาบาลร่องคำ เป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป จำนวน 3 คน และมีทีมสหวิชาชีพ ในการดูแล มี antibiotic เพียงพอ ไม่สามารถตรวจเพาะเชื้อได้ ปี 2558 – 2560 จำนวนผู้ป่วย Sever Sepsis 2,9,7 ราย พบโรคที่เป็นสาเหตุ Cellulitis 6 ราย, UTI 4 ราย, ,infective diarrhea 4 ราย Pneumonia 3 ราย, Leptospirosis 1 ราย, เสียชีวิต 1 ราย ที่โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ Refer ทั้งหมด 16 ราย Refer ที่ ward 5 ราย จากการทบทวนผู้ป่วยพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาช้า การประเมินผู้ป่วยผิดพลาด การวินิจฉัยโรคช้า การส่งตรวจ H/C น้อย การให้สารน้ำไม่เพียงพอ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน เกิดขึ้น  
วัตถุประสงค์ : - ไม่มีการเสียชีวิตจากภาวะ Sever Sepsis - ได้รับ ATB อย่างรวดเร็ว - การให้สารน้ำที่เหมาะสม - การวินิจฉัยถูกต้องรวดเร็ว - ส่ง H/C เมื่อเข้าเกณฑ์วินิจฉัย  
กลุ่มเป้าหมาย :  
เครื่องมือ :  
ขั้นตอนการดำเนินการ : 1. ศึกษาเอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำแนวปฏิบัติ 3. นำแนวทางปฏิบัติลงสู่ผู้ปฏิบัติ 4. กำหนดประชากรและเลือกกลุ่มตัวอย่าง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล  
     
ผลการศึกษา :  
ข้อเสนอแนะ :  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ไม่มีเอกสารแนบ