ประเภทบทความ/งานวิจัย : วิจัย สถานะ : จัดทำรายงาน
   บทความ/วิจัย เรื่อง : การพัฒนาเครือข่ายชุมชนในโครงการจิตสังคมบำบัดพัฒนาคุณภาพชีวิต อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้แต่ง : สุดาทิพย์ ศรีจันทร์เติม ปี : 2560
     
หลักการและเหตุผล : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยจิตเวช ที่แพทย์วินิจฉัยSchizophrenia และAcute Phychosisโดยใช้หลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขนำมาประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (DHML: DistricHealth System Managment) ในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิตอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ จากการศึกษาทางระบาดวิทยาของพฤติกรรมการทำร้ายตนเองและการฆ่าตัวตายในปี 2545 และ 2546 มีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย 4,500 – 5,000 คนต่อปี และมีจำนวนผู้ที่ทำร้ายตนเองทั้งที่เสียชีวิตและไม่เสียชีวิตราว 25,000- 27,000 คนต่อปี(อภิชัย มงคลและคณะ, 2546)ทำให้เกิดความสูญเสียต่อครอบครัวและประเทศชาติ และพบว่าผู้ป่วยโรคจิตเภท(Schizophrenia) มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จากการสำรวจผู้มีปัญหาสุขภาพจิตในเขตอำเภอนามน จำนวน 5 ตำบล มีจำนวนผู้ป่วยโรคจิตเภท(Schizophrenia) 25 คน Phychosisจำนวน 57 คน และ Generalize anxiety disorder จำนวน 5 คน และในปี 2550 มีผู้ป่วยจิตเภทเพศหญิงฆ่าตัวตายสำเร็จ ที่ตำบลยอดแกง จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราตาย 2.7 ต่อแสนประชากรผลการศึกษาการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายชุมชนในโครงการจิตสังคมบำบัดพัฒนาคุณภาพชีวิต พบว่ามีผู้ป่วยขึ้นทะเบียนที่แพทย์วินิจฉัยSchizophrenia และAcute Phychosisครอบคลุมมีการใช้หลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต โดยจัดอบรมแกนนำสุขภาพจิตทั้ง 5 ตำบล 67 หมู่บ้าน มีแกนนำสุขภาพจิตจำนวน 67 คน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิต รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพจิต ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยและการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน การฝึกใช้แบบประเมินทางสุขภาพจิต การสร้างสุขในบ้าน การให้การปรึกษาทางสุขภาพจิต การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง กิจกรรมเสริมเพื่อให้ผู้ป่วยมีสมาธิโดยทำพรมเช็ดเท้า และมีคลินิกจิตเวชในโรงพยาบาลนามน และมีการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพในการจัดการคลินิกจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดเครือข่ายชุมชนในการวางแผนแบบมีส่วนร่วมมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน ได้แก่ การจัดกิจกรรมและการเข้าฐานการเรียนรู้ การจัดการกับอารมณ์ การสื่อสารและความเข้าใจกันในครอบครัว การให้คำปรึกษา ได้แก่กิจกรรมวงกลมปริศนา ปมปัญหาและการแก้ไข การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน ทำให้ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวได้อย่างปกติสุข  
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษารูปแบบบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยจิตเวชที่แพทย์วินิจฉัยSchizophrenia และAcute Phychosis  
กลุ่มเป้าหมาย : ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตในเขตอำเภอนามน จำนวน 5 ตำบล มีจำนวนผู้ป่วยโรคจิตเภท(Schizophrenia) 25 คน Phychosisจำนวน 57 คน และ Generalize anxiety disorder จำนวน 5 คน  
เครื่องมือ : ใช้หลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขนำมาประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (DHML: DistricHealth System Managment) ในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิต  
ขั้นตอนการดำเนินการ : จัดอบรมแกนนำสุขภาพจิตทั้ง 5 ตำบล 67 หมู่บ้าน มีแกนนำสุขภาพจิตจำนวน 67 คน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิต รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพจิต ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยและการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน การฝึกใช้แบบประเมินทางสุขภาพจิต การสร้างสุขในบ้าน การให้การปรึกษาทางสุขภาพจิต การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง กิจกรรมเสริมเพื่อให้ผู้ป่วยมีสมาธิโดยทำพรมเช็ดเท้า และมีคลินิกจิตเวชในโรงพยาบาลนามน และมีการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพในการจัดการคลินิกจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ  
     
ผลการศึกษา : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยจิตเวช ที่แพทย์วินิจฉัยSchizophrenia และAcute Phychosisโดยใช้หลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขนำมาประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (DHML: DistricHealth System Managment) ในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิตอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ จากการศึกษาทางระบาดวิทยาของพฤติกรรมการทำร้ายตนเองและการฆ่าตัวตายในปี 2545 และ 2546 มีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย 4,500 – 5,000 คนต่อปี และมีจำนวนผู้ที่ทำร้ายตนเองทั้งที่เสียชีวิตและไม่เสียชีวิตราว 25,000- 27,000 คนต่อปี(อภิชัย มงคลและคณะ, 2546)ทำให้เกิดความสูญเสียต่อครอบครัวและประเทศชาติ และพบว่าผู้ป่วยโรคจิตเภท(Schizophrenia) มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จากการสำรวจผู้มีปัญหาสุขภาพจิตในเขตอำเภอนามน จำนวน 5 ตำบล มีจำนวนผู้ป่วยโรคจิตเภท(Schizophrenia) 25 คน Phychosisจำนวน 57 คน และ Generalize anxiety disorder จำนวน 5 คน และในปี 2550 มีผู้ป่วยจิตเภทเพศหญิงฆ่าตัวตายสำเร็จ ที่ตำบลยอดแกง จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราตาย 2.7 ต่อแสนประชากรผลการศึกษาการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายชุมชนในโครงการจิตสังคมบำบัดพัฒนาคุณภาพชีวิต พบว่ามีผู้ป่วยขึ้นทะเบียนที่แพทย์วินิจฉัยSchizophrenia และAcute Phychosisครอบคลุมมีการใช้หลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต โดยจัดอบรมแกนนำสุขภาพจิตทั้ง 5 ตำบล 67 หมู่บ้าน มีแกนนำสุขภาพจิตจำนวน 67 คน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิต รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพจิต ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยและการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน การฝึกใช้แบบประเมินทางสุขภาพจิต การสร้างสุขในบ้าน การให้การปรึกษาทางสุขภาพจิต การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง กิจกรรมเสริมเพื่อให้ผู้ป่วยมีสมาธิโดยทำพรมเช็ดเท้า และมีคลินิกจิตเวชในโรงพยาบาลนามน และมีการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพในการจัดการคลินิกจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดเครือข่ายชุมชนในการวางแผนแบบมีส่วนร่วมมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน ได้แก่ การจัดกิจกรรมและการเข้าฐานการเรียนรู้ การจัดการกับอารมณ์ การสื่อสารและความเข้าใจกันในครอบครัว การให้คำปรึกษา ได้แก่กิจกรรมวงกลมปริศนา ปมปัญหาและการแก้ไข การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน ทำให้ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวได้อย่างปกติสุข  
ข้อเสนอแนะ : การใช้ระบบDHML: DistricHealth System Managment) ร่วมกับหลักสูตร TOT (Trainer for Training) ของกรมสุขภาพจิต ทำให้เครือข่ายชุมชนสามารถดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิตมีคุณภาพชีวิตที่ดี  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)