|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : เสนอโครงร่าง |
บทความ/วิจัย เรื่อง : พัฒนาการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยทำหมันหลังคลอดในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ |
ผู้แต่ง : |
วนิษฐา แผ่นศิลา |
ปี : 2560 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
๓.๑ จากความเสี่ยงและอุบัติการณ์ ปี2559 มี 5ลำดับ ดังนี้
๑. มีความเสี่ยงเกิดภาวะ Bronchospasm ในผู้ป่วยผ่าตัดทำหมัน 4 ราย
๒.มีความเสี่ยงเกิดภาวะ Hypoxia ในผู้ป่วยเด็กมา Scrub burn 2 ราย
๓.ใส่ท่อช่วยหายใจยาก 1 ราย
๔.ใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำหลังดมยา 1 ราย
๕.ผู้ป่วยแพ้ยาสลบขณะทำหัตถการ 1 ราย
๓.๒อุบัติการณ์ที่เกิดถือว่ารุนแรงระดับ G ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขหรือช่วยเหลือไม่ทันผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้
|
|
วัตถุประสงค์ : |
๑.เพื่อจัดทำแนวทางการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยผ่าตัดทำหมันหลังคลอด
ตัวชี้วัด
๑.๑มีแนวทางการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยผ่าตัดทำหมันหลังคลอด
๒.เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิสัญญีพยาบาล
ตัวชี้วัด
๒.๑ร้อยละของวิสัญญีพยาบาลปฏิบัติตามแนวทางการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยผ่าตัดทำหมันหลังคลอด
๓.เพื่อให้ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดทำหมันหลังคลอดปลอดภัยไม่มีภาวะ Bronchospasm
ตัวชี้วัด
๓.๑อุบัติการณ์การเกิดภาวะ Bronchospasm ลดลง
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดทำหมันหลังคลอดได้รับการผ่าตัดอย่างราบรื่น ปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน |
|
เครื่องมือ : |
เครื่องมือในการวิจัย
๑ แบบประเมินผู้ป่วยก่อนการระงับความรู้สึก
๒ใบบันทึกการให้ยาระงับความรู้สึก
๓แบบฟอร์มการประเมินการปฏิบัติของวิสัญญีพยาบาล
๔วิธีปฏิบัติการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยผ่าตัดทำหมันหลังคลอด
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
๑ทบทวนแนวทางการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยทำหมันหลังคลอด
๒ให้ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแนวทางปฏิบัติ
๓ทำเครื่องมือการประเมินตามแนวทาง
๔ดำเนินการปฏิบัติตามแนวทาง
๕หัวหน้างานสุ่มประเมินการปฏิบัติของวิสัญญีพยาบาล
๖ประเมินผลทุก ๓-๖ เดือน
๗จัดทำทะเบียนผ่าตัดทำหมันและอุบัติการณ์ต่างๆ
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|