|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : วิเคราะห์ข้อมูล |
บทความ/วิจัย เรื่อง : โครงการควบคุมและเฝ้าระวังวัณโรค รพ.สต.ฝายแตก |
ผู้แต่ง : |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฝายแตก ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ |
ปี : 2562 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
|
|
วัตถุประสงค์ : |
1. เพื่อให้อัตราความสำเร็จการรักษาเท่ากับหรือมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสวัณโรคเข้าสู่ระบบการรักษา
3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายมีพี่เลี้ยงในการกำกับการกินยา
4. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
แกนนำสุขภาพ 25 คน
กลุ่มเสี่ยง
1.ผู้สัมผัสร่วมบ้าน 20คน
2.ผู้ป่วย เอดส์ 10 คน
3.ผู้ป่วยเบาหวาน 130 คน
4.ผู้ป่วยรายเก่า 20 คน
รวม 205คน
|
|
เครื่องมือ : |
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1. แต่งตั้งคณะดำเนินงาน ระดับตำบล หมู่บ้าน
1.1 จัดตั้งเครือข่ายคณะทำงานจัดทำแผนดำเนินงานแก้ไขปัญหาระดับตำบล ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. อสม.หมู่บ้านละ 5 คน
1.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้ให้หน่วยงานบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานโรควัณโรคของกรมควบคุมโรค และดูแลผู้ป่วยแบบมีพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาแกนนำ
กิจกรรม
2.ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยเสมหะบวกทุกรายและมีการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS)
2.1จัดทำแบบฟอร์มเยี่ยมบ้าน เพื่อส่งต่อข้อมูลให้ ชุมชน
2.2 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยระยะเข้มข้นทุกสัปดาห์ระยะต่อเนื่องทุกเดือนโดยเจ้าหน้าที่รพ.สต.
3. ค้นหากลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสวัณโรคเข้าสู่ระบบการรักษา
จัดกิจกรรมเพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในหมู่บ้าน
-ผู้สัมผัสร่วมบ้าน 3ปีย้อนหลัง
-ผู้ป่วยเบาหวาน,หอบหืดที่มีอาการเข้าได้กับวัณโรค(ที่มารับยาที่คลินิก)
จัดกิจกรรมรณรงค์การเผยแพร่วันวัณโรค
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|