ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R สถานะ : จัดทำรายงาน
   บทความ/วิจัย เรื่อง : การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่ บ้านน่ามอง ลดภาระของชุมชน ตำบลศรีสมเด็จ
ผู้แต่ง : ทิพย์สุดา พันธ์ดี ปี : 2561
     
หลักการและเหตุผล : ปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะต้องให้ความสำคัญและร่วมมือแก้ไขอย่างเต็มที่ตามความสามารถ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศ มีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ปริมาณขยะในชุมชนก็ย่อมเพิ่มขึ้น จนกระทั่งการกำจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก แม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัยกลิ่น ความสะอาดและอาจก่อให้เกิด ปัญหาขยะล้น เมืองได้ “ขยะ” ผู้คนส่วนมากละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้น หากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ดั้งนั้นทางคณะผู้จัดทำได้ตระหนักและ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นจึงจัดตั้งโครงการการจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่ บ้านน่ามอง ลดภาระของชุมชน เพื่อรณรงค์ให้คนในชาวบ้านลดจำนวนการทิ้งขยะลง มีการคัดแยกนำไปขายและนำกลับมาใช้ประโยชน์ หรือสร้างสิ่งประดิษฐ์มูลค่าเพิ่ม เป็นผลให้ขยะที่จะนำไปจัดการ ณ สถานที่กำจัดลดน้อยลง และเห็นคุณค่าของขยะมากยิ่งขึ้น  
วัตถุประสงค์ : ๕.๑ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่ เกิดจากขยะ ๕.๒ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก และการนำกลับมาใช้ใหม่  
กลุ่มเป้าหมาย : ๖.๑ เชิงพื้นที่ บ้านหนองอิดุม หมู่ที่ ๖ ๖.๒ เชิงปริมาณ ๑. ลดปริมาณขยะมูลฝอย ๒. กลุ่มเป้าหมายผู้แทนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 50 คน และมีครัวเรือนของ ประชาชนทั่วไป ครัวเรือนของผู้นำชุมชน ครัวเรือนของผู้นำกลุ่มองค์กรภาคประชาชน กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ  
เครื่องมือ :  
ขั้นตอนการดำเนินการ : ๗.วิธีการดำเนินงาน ๗.๑ กิจกรรมเสวนาเรื่องการจัดการขยะในชุมชน ๗.๒ จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการจัดการขยะ ลดปริมาณขยะ และการคัดแยกขยะรวมถึงการนำ ขยะในชุมชนไปใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน จัดฝึกอบรมตัวแทนสมาชิก ครัวเรือน เพื่อเป็นแกนนำและเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ ขยะและคัดแยกขยะในครัวเรือนและชุมชน วัดผลให้ความรู้โดยการทำแบบทดสอบก่อนและหลัง ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ๗.๓ ความพึงพอใจของการมีส่วนร่วมในชุมชน ๗.๔ สรุปผลและประเมินผลการดำเนินงาน  
     
ผลการศึกษา : ๑๔. ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มที่ศึกษา จำแนกตามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 22 44 หญิง 28 56 อายุ (ปี) 23 - 33 9 18 34 - 43 15 30 44 - 54 18 36 55 - 65 8 16 อายุสูงสุด 65 ปี ต่ำสุด 23 ปี อายุเฉลี่ย 44 ปี ระดับการศึกษา ไม่ได้เรียน 0 0.0 ชั้นประถมศึกษา 12 24 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น/ปวช. 15 30 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวส. 9 18 อนุปริญญา/ปวส. 8 16 ปริญญาตรี 6 12 ปริญญาโท 0 0.0 ตอนที่ 2 ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละ ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน เนื้อหา ระดับการความรู้ความเข้าใจความตระหนัก น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ความรู้ 1. การรักษาความสะอาดในชุมชนเป็นหน้าที่ของทุกคน 6.00 (3) 12.00 (6) 14.00 (7) 42.00 (21) 26.00 (13) 2. การทิ้งขยะลงถังเป็นหน้าที่ที่ทุกคนพึงปฏิบัติ 8.00 (4) 2.00 (1) 26.00 (13) 18.00 (9) 46.00 (23) 3. การจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง 2.00 (1) 6.00 (3) 10.00 (5) 24.00 (12) 58.00 (29) 4. หากไม่มีถังขยะหน้าบ้าน สามารถนำขยะไปทิ้งในที่สาธารณะได้ 8.00 (4) 22.00 (11) 20.00 (10) 40.00 (20) 10.00 (5) 5. หากไม่มีถังขยะ สามารถเก็บขยะไว้แล้วนำมาทิ้งเมื่อพบถังขยะ 4.00 (2) 36.00 (18) 18.00 (9) 20.00 (10) 22.00 (11) 6. การคัดแยกมูลฝอยทำให้ลดปริมาณขยะ 20.00 (10) 6.00 (3) 12.00 (6) 22.00 (11) 40.00 (20) 7. การทำความสะอาดหน้าบ้านเป็นหน้าที่ของตนเองไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานรัฐ 14.00 (7) 6.00 (3) 12 (6) 18.00 (9) 50.00 (25) 8. การทำความสะอาดในชุมชนเป็นหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ 6.00 (3) 22.00 (11) 12.00 (6) 40.00 (20) 20.00 (10) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละ ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน (ต่อ) เนื้อหา ระดับการความรู้ความเข้าใจความตระหนัก น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ความคิด 9. การคัดแยกขยะมูลฝอยในชุมชนเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องปฏิบัติ 6.00 (3) 14.00 (6) 14.00 (7) 42.00 (21) 26 (13) 10. หากชุมชนไม่ทำการคัดแยกขยะมูลฝอยจะทำให้หน่วยงานของรัฐต้องมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น 8.00 (4) 4.00 (2) 26.00 (13) 18.00 (9) 48.00 (24) 11. ทิ้งขยะในที่สาธารณะ ถือว่าไม่เป็นความผิดเพราะหน่วยงานรัฐจะต้องรับผิดชอบเอง 36.00 (18) 6.00 (3) 10.00 (5) 22.00 (11) 2.60 (13) 12. การทิ้งขยะไม่เลือกที่ หากคนในชุมชนทิ้งคนละชิ้นจะทำให้ขยะเกลื่อนชุมชนได้ 8.00 (4) 16.00 (8) 20.00 (10) 46.00 (23) 10.00 (5) 13. หากทุกคนทำความสะอาดหน้าบ้านและคัดแยกขยะมูลฝอยจะทำให้ชุมชนน่าอยู่มากขึ้น 24.00 (12) 28.00 (14) 12.00 (6) 14.00 (7) 22.00 (11) 14. การคัดแยกขยะก่อนทิ้งทำให้เสียเวลาโดยใช่เหตุ 14.00 (7) 26.00 (13) 18.00 (9) 46.00 (23) 32.00 (16) 15. การคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ 10.00 (5) 22.00 (11) 42.00 (21) 14.00 (7) 12.00 (6) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละ ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน (ต่อ) เนื้อหา ระดับการความรู้ความเข้าใจความตระหนัก น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ลงมือทำ 16. ปัจจุบันท่านทิ้งขยะลงที่จัดเก็บทุกครั้ง 6.00 (3) 22.00 (11) 14.00 (7) 18.0 (9) 40.00 (20) 17. ปัจจุบันท่านคัดแยกขยะก่อนทิ้งทุกครั้ง 26.00 (13) 2.00 (1) 18.00 (9) 42.00 (21) 12.00 (6) 18. ท่านจัดหาที่รองรับขยะบริเวณหน้าบ้านเอง 16.00 (8) 24.00 (12) 30.00 (15) 6.00 (3) 24.00 (12) 19. ท่านร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานรัฐรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยทุกครั้ง 28.00 (14) 22.00 (11) 10.00 (5) 18.00 (9) 22.00 (11) 20. ท่านมีการคัดแยกขยะอันตรายทุกครั้ง 18.00 (9) 6.00 (3) 24.00 (12) 22.00 (11) 30.00 (15) 21. ขยะอินทรีย์นำมาทำปุ๋ยหมัก เพื่อลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือน 42.00 (21) 12.00 (6) 14.00 (7) 18.00 (9) 14.00 (7) 22. ท่านมีการนำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ 30.00 (15) 12.00 (6) 26.00 (13) 18.00 (9) 14.00 (7) 23. ขยะที่มีค่า ท่านได้คัดแยกขยะและนำไปจำหน่ายทุกครั้ง 22.00 (11) 6.00 (3) 10.00 (5) 24.00 (12) 38.00 (19) 24. ในที่สาธารณะ ท่านได้ทิ้งขยะตามประเภทของถังที่หน่วยงานรัฐได้จัดเตรียมไว้ให้ทุกครั้ง 12.00 (6) 18.00 (9) 34.00 (17) 22.00 (11) 14.00 (7) ผลการทดสอบความรู้ ก่อน และ หลังการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละ ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง ของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน เรื่องความรู้ความเข้าใจ ก่อน ร้อยละ หลัง ร้อยละ ถูก 12 24 40 80 ผิด 38 76 10 20 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน เนื้อหา ระดับการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) ร้อยละ (จำนวน) การมีส่วนร่วมของชุมชน 1.ชุมชนและคนในมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น ร่วมประชุม ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล 16.0 (8) 6.00 (3) 22.00 (11) 42.00 (21) 14.00 (7) 2. ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพและท้องถิ่นสนับสนุนงบประมาณ(Resource sharing) 28.00 (14) 18.00 (9) 26 (13) 16.00 (8) 12.00 (6) 3. ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพจัดระบบสุขภาพร่วมกันและมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม (ดูผลลัพธ์ตามโครงการ) 38.00 (19) 6.00 (3) 12.00 (6) 24.00 (12) 20.00 (10) 4. ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพจัดระบบสุขภาพร่วมกันและมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบและตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 8.00 (4) 22.00 (11) 14.00 (7) 26.00 (13) 30.00 (15) 5. ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพมีการกำหนดนโยบายสาธารณะและมีความเข้มแข้งพึ่งตนเองได้ในการจัดการปัญหาสุขภาพในพื้นที่ มีการปรับปรุงการทำงานอย่างเป็นระบบ 38.00 (19) 6.00 (3) 12.00 (6) 30.00 (15) 14.00 (7) ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละ ความพึงพอใจในการดำเนินงานโครงการ รายการ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ร้อยละ มาก ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ น้อย ร้อยละ น้อยที่สุด ร้อยละ 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรม 14.00 (7) 6.00 (3) 12 (6) 18.00 (9) 50.00 (25) 1.2 ลำดับขั้นตอนในการจัดกิจกรรม 6.00 (3) 22.00 (11) 12.00 (6) 40.00 (20) 20.00 (10) 1.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม 18.00 (9) 6.00 (3) 24.00 (12) 22.00 (11) 30.00 (15) 1.4 เอกสารและสื่อประกอบการจัดกิจกรรม 42.00 (21) 12.00 (6) 14.00 (7) 18.00 (9) 14.00 (7) 1.5 ความเหมาะสมของกิจกรรมการจัดกิจกรรม 36.00 (18) 6.00 (3) 10.00 (5) 22.00 (11) 2.60 (13) 2. ความพึงพอใจด้านคณะทำงาน 2.1 คณะทำงานมีกิริยามารยาทเรียบร้อย 26.00 (13) 2.00 (1) 18.00 (9) 42.00 (21) 12.00 (6) 2.2 คณะทำงานมีความสามารถในการดูแลและแก้ปัญหา 16.00 (8) 24.00 (12) 30.00 (15) 6.00 (3) 24.00 (12) 3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 3.1 สถานที่จัดกิจกรรม 8.00 (4) 16.00 (8) 20.00 (10) 46.00 (23) 10.00 (5) 3.2 มีการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม 22.00 (11) 6.00 (3) 10.00 (5) 24.00 (12) 38.00 (19) 4. ความพึงพอใจด้านคุณภาพการจัดกิจกรรม 4.1 ท่านได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างคุ้มค่า 14.00 (7) 6.00 (3) 12 (6) 18.00 (9) 50.00 (25) 4.2 ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 38.00 (19) 6.00 (3) 12.00 (6) 24.00 (12) 20.00 (10) 5. โดยภาพรวมทั้งหมดท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ 8.00 (4) 22.00 (11) 14.00 (7) 26.00 (13) 30.00 (15) ๑๕.สรุปผล ข้อมูลทั่วไปเพศชายร้อยละ 44 เพศหญิงร้อยละ 56 อายุ 44 – 54 ปี ร้อยละ 36 ระดับการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น/ปวช. ร้อยละ ด้านความรู้การจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ระดับการความรู้ความเข้าใจความตระหนัก มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 58.00 ด้านความรู้การทำความสะอาดหน้าบ้านเป็นหน้าที่ของตนเองไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานรัฐ ระดับการความรู้ความเข้าใจความตระหนักมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 ด้านความคิดหากชุมชนไม่ทำการคัดแยกขยะมูลฝอยจะทำให้หน่วยงานของรัฐต้องมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น ตะหนักมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.00 ด้านความคิดหากคนในชุมชนทิ้งคนละชิ้นจะทำให้ขยะเกลื่อนชุมชนได้มาก คิดเป็นร้อยละ 46.00 ด้านลงมือทำขยะที่มีค่า ท่านได้คัดแยกขยะและนำไปจำหน่ายทุกครั้ง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 38.00 ด้านลงมือทำปัจจุบันท่านคัดแยกขยะก่อนทิ้งทุกครั้ง มาก คิดเป็นร้อยละ 42.00 ความรู้ ก่อน และ หลังการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน เรื่องความรู้ความเข้าใจในการจัดการมูลฝอยชุมชน มีความรู้ที่ถูกต้อง ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 24 หลังให้ความรู้ ร้อยละ 80 เข้าใจผิดในการจัดการมูลฝอยชุมชน ก่อนให้ความรู้คิดเป็นร้อยละ 76 หลังให้ความรู้คิดเป็นร้อยละ 20 ระดับการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ชุมชนและคนในมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น ร่วมประชุม ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล คิดเป็นร้อยละ 42.00 ลองลงมา ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพมีการกำหนดนโยบายสาธารณะและมีความเข้มแข้งพึ่งตนเองได้ในการจัดการปัญหาสุขภาพในพื้นที่ มีการปรับปรุงการทำงานอย่างเป็นระบบ คิดเป็นร้อยละ 30.00 ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม รูปแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรมระดับความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ14.00 ความพึงพอใจด้านคณะทำงานคณะทำงานมีกิริยามารยาทเรียบร้อย มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 26.00 ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก สถานที่จัดกิจกรรมมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 8.00 ความพึงพอใจด้านคุณภาพการจัดกิจกรรม ท่านได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างคุ้มค่า คิดเป็นร้อยละ 14.00  
ข้อเสนอแนะ : โครงการนี้เป็นความผิดพลาดของคณะผู้จัดทำโครงการ ไม่สอดคล้องกับระยะเวลากับการฝึกปฏิบัติงาน จึงประเมินผลในระยะยาวไม่ได้ ทางคณะผู้จัดทำโครงการจึงได้ส่งต่อข้อมูลให้ชุมชนได้ดำเนินโครงการต่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)