|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : ภูมิปัญญาพื้นบ้านการใช้สมุนไพรรักษาโรคแผลเปื่อยในช่องปาก |
ผู้แต่ง : |
นส.ศิราภรณ์ มหาโคตร ตำแหน่ง แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ |
ปี : 2561 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
จังหวัดกาฬสินธุ์ เน้นความสำคัญของการนำแพทย์พื้นบ้านเข้าสู่ระบบการดูแลสุขภาพ ที่มีการรักษาความเสียสมดุลของ ธาตุทั้ง 4 ในร่างกาย นั่นคือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และปรากฏในคัมภีร์มุขโรค ( โรคในปากในคอ ) ซึ่งอาการแผลเปื่อยในช่องปากเป็นอาการเตือนที่อาการแสดงให้เห็นถึงการไม่สมดุลของธาตุทั้ง 4 ในร่างกาย และสูตรสมุนไพรแบบดั้งเดิมสำหรับแผลในช่องปากได้รับการยอมรับน้อยลงและควรได้รับการรักษาไว้
อาการแผลเปื่อยในช่องปากเป็นโรคที่พบได้ง่าย ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดคือ แผลแอฟทัส หรือ “แผลร้อนใน” ตำแหน่งที่พบบ่อยได้แก่ ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม บนลิ้น ใต้ลิ้น ส่วนน้อยอาจพบได้ที่เพดานปาก เหงือก หรือต่อมทอนซิล แผลอาจมีเพียงแห่งเดียวหรือ 2-3 แห่งก็ได้ |
|
วัตถุประสงค์ : |
1. เพื่อศึกษาความรู้ทางสมุนไพรพื้นบ้านและสูตรสมุนไพรและมีประโยชน์ในวงกว้าง
2. ได้ข้อมูลชนิดของพืชและยืนยันหลักฐานการรักษาโดยการสืบค้นเปรียบเทียบจากฐานข้อมูลงานวิจัย
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
หมอพื้นบ้าน 20 คน |
|
เครื่องมือ : |
แบบสัมภาาณ์ |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
ระยะที่1
ระยะที่2
ระยะที่ 3
ระยะที่ 4 |
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|