|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การป้องกันการเกิดหลอดเลือดส่วนปลายอักเสบ จากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ |
ผู้แต่ง : |
ศิริรัตน์ ภูวนารถ |
ปี : 2561 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
เนื่องจากการดูแลผู้ป่วยที่เปิดเส้นเลือดส่วนปลายเพื่อให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ยังพบปัญหาขาดการตระหนักในการตรวจสอบการป้องกันการเกิด หลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ และหลังการเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำส่วนปลายการให้การพยาบาลยังไม่เป็นแนวทางเดียวกัน |
|
วัตถุประสงค์ : |
1. มีแนวทางการตรวจสอบการป้องกันการเกิดหลอดเลือดดำส่วยปลายอักเสบ
2. มีแนวทางการพยาบาลหลังการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
3. อัตราหลอดเลือดดำอักเสบระดับgr.3 -4 ลดลง
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
พยาบาลที่ปฏิบัติงานตึกผู้ป่วยใน |
|
เครื่องมือ : |
1. ใบตรวจสอบการได้รับสารน้ำและการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
2. กระเป่าน้ำร้อน แก้วน้ำ
3. ปรอทวัดไข้ (ปรอทแก้ว)
4. สมุดรายงานการเก็บกิจกรรมการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1. ประชุมแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานรับทราบ
2. ปฏิบัติทดลองใช้
3. สรุปผล
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
1. มีแบบประเมินการเฝ้าระวังการเกิดหลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ
2. มีแนวทางการพยาบาลหลังเกิดหลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ
3. สรุปผลปีงบ
ลำดับ ปีงบ วันรวมที่ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ จำนวนครั้ง
Phlebitis(ครั้ง)/ อัตราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบระดับ1,2 ต่อวันรวมที่ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ อัตราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบระดับ3,4 ต่อวันรวมที่ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ
1 2560 6,391 34(0.53) 29(0.45) 5(0.07)
2 2561(ก.ค.) 5,329 28(0.52) 26(0.48) 2(0.03 )
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
1.ควรมีการควบคุมกำกับให้เจ้าหน้าทุกคนปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
2. ควรมีการเก็บข้อมูลและเฝ้าระวังติดตามอุบัติการณ์อย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)
|
|
|
|
|