|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การดูผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุ ตำบลนิคมห้วยผึ้ง |
ผู้แต่ง : |
คมขำ วงลคร,มณเทียร โมลาขาว,นงลักษณ์ ไชยบุตร,รื่นฤดี พงษ์พิ์ชัย |
ปี : 2562 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
จากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเข้าสู้ประชากรสูงอายุในสังคมไทยซึ่งคาดว่าใน ปีพ.ศ. 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่ระยะสังคมสูงอายุอย่างสมบรูณ์ (Complete Aged Society) และจะเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super aged society) เมื่อประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดประมาณปีพ.ศ. 2578 ขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูงกว่าอัตราการเพิ่มของผู้สูงอายุวัยต้น(มูลนิธิสถาบันและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2556ทำให้มีการขยายตัวของโรคเรื้อรังและภาวะทุพพลภาพส่งผลให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพิงและต้องการการดูแลเพิ่มมากขึ้น
บริบทและการดำรงชีพของประชาชนในพื้นที่ ในครอบครัวหนึ่งๆส่วนใหญ่จะมีผู้สูงอายุและเด็กอยู่ที่บ้านส่วนคนอื่นๆจะออกไปประกอบอาชีพเพื่อหารายได้มาเลี้ยงครอบครัวทำให้ขาดคนดูแลเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง จากนโยบายของรัฐบาลมีการส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพโดยมีอาสาสมัครในชุมชนเป็นตัวเชื่อมระหว่างรัฐบาลกับประชาชน งานเวชปฎิบัติ โรงพยาบาลห้วยผึ้งมีการดำเนินงานในเชิงรุกโดยร่วมกับเครือข่ายจิตอาสาภาคประชาชน “เครือข่ายจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” คือประชาชนที่มีจิตอาสาในพื้นที่ที่มีความรู้ระดับ มัธยม ปริญญาตรี ที่สามารถความรู้และทักษะการดูแลฟื้นฟูผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านติดเตียง และสามารแนะนำเพื่อนบ้านได้ กลุ่มจิตอาสาดังกล่าวจะคอยดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ไม่ว่าจะเป็น ป้องกัน ฟื้นฟู ให้คำแนะนำเพื่อนบ้าน และประสานงานกับเจ้าหน้าที่
|
|
วัตถุประสงค์ : |
1.เพื่อให้ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการที่มีคุณภาพที่บ้านโดยทีมจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มี
ภาวะพึ่งพิง
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ด้านป้องกัน ฟื้นฟูสภาพร่างกาย
|
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของตำบลนิคมห้วยผึ้งทุกคน |
|
เครื่องมือ : |
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1.ประชาสัมพันธ์หาจิตอาสาในชุมชน
2.แต่งตั้งคณะกรรมการทีมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว
3.ประชุมทีมสหสาขาวิชาชีพในการดำเนินงาน
4.จัดอบรม และฟื้นฟู จิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) ตามหลักสูตร
6.ฝึก Care giver ปฏิบัติจริงกับ case ในโรงพยาบาลและชุมชน
8.จัดประชุมเครือข่ายจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเดือนละ 1 ครั้ง
9.วางแผนการดำเนินงานร่วมกับแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกับจิตอาสาภาคประชาชนอย่างชัดเจน
11.ประเมินผลการดำเนินงานหลังดำเนินงานในเชิงรุก
12.ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมตามบริบทของ
พื้นที่
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|