|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : บันทึกทางการพยาบาล |
ผู้แต่ง : |
นางทิมทอง เถาวัลย์ดี และคณะ |
ปี : 2563 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
บันทึกทางการพยาบาล เป็นหนึ่งในหน้าที และในกระบวนการพยาบาล เป็นเรื่องที่ได้รับการฝึกในการเขียนมาจากการเป็นนักเรียนพยาบาล จนกระทั่งจบเป็นพยาบาล บันทึกทางการพยาบาลเป็นกิจกรรมที่ควบคู่กับการพยาบาล เป็นสิ่งที่สะท้อนคุณภาพการพยาบาลผู้ป่วย เป็นเครื่องมือที่ตามรอยผู้ป่วยได้ดี เป็นหลักฐานทางกฎหมาย |
|
วัตถุประสงค์ : |
เพื่อให้บันทึกทางการพยาบาลถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ เป็นหลักฐานทางราชการที่ตรวจสอบได้ |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
พยาบาลงานผู้ป่วยในทุกคน |
|
เครื่องมือ : |
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1. การตรวจสอบบันทึกทางการพยาบาล สม่ำเสมอ และเมื่อพบข้อบกพร่อง นำมาปรับปรุง เพื่อให้เกิดการพัฒนา
2. ส่งพยาบาล 2 คนเข้าอบรมการเขียนบันทึกทางการพยาบาล เดือนตุลาคม 2558
3. พยาบาลที่ผ่านการอบรมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับพยาบาลทั้งองค์กรเดือน พฤศจิกายน 2558
4. ปรับแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาล ให้มี Nursing Focus list
5. นำเกณฑ์บันทึกทางการพยาบาล APIE ประเมินผลการบันทึก
6. นำเกณฑ์ 9 ข้อ ของ สปสช. มาสื่อสารกับพยาบาลในตึก
7. แจกเเกณฑ์ ให้พยาบาลในตึกทุกคนศึกษา และฝึกทำการตรวจสอบร่วมกัน ในช่วงเดือนตุลาคม 62-ธันวาคม 62
8. เมื่อพบการบันทึกไม่สมบูรณ์ นำข้อบกพร่องมาหารือหลังรับเวร
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
Performance***
1. ผ่านเกณฑ์ คะแนนมากกว่า 7.2 คะแนน (ร้อยละ 80)
ผลงานที่ผ่านมา
2558 2559 2560 2561 2562 2563
6.58 8.3 8.3 7.9 7.3 7.6
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
จากผลการทบทวนเฉพาะรายในกรณีผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ส่งต่อ เสียชีวิต พบว่าบันทึกทางการพยาบาลสมบูรณ์ เพิ่มชึ้น มีการระบุเวลาชัดเจนที่ฟอร์มปรอท ใบเฝ้าระวัง บันทึกการให้ยา และบันทึกทางการพยาบาล สามารถใช้ประกอบการตรวจสอบข้อร้องเรียน และ การตามรอยได้ |
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)
|
|
|
|
|