|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stoke fast track) |
ผู้แต่ง : |
นภัสนันท์ ภูขาว |
ปี : 2559 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นทำให้มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นเรื่อยแต่ผู้ป่วยยังเข้าถึงบริการช้าทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเนื่องจากยังขาดความรู้ความตระหนักในการปฏิบัติตัวรวมถึงยังมีความเชื่อด้านไสยศาสตร์ ทำให้รักษาพื้นบ้านก่อนมาโรงพยาบาล ซึ่งต้องมีonset to refer ไม่เกิน2ชั่วโมงเพื่อให้ door to needle ไม่เกิน4.30ชั่วโมง ที่รพ.กาฬสินธุ์ |
|
วัตถุประสงค์ : |
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงและเมื่อมีอาการสามารถเข้าถึงบริการได้เร็วขึ้นลดความพิการและลดอัตราเสียชีวิต |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้ป่วยที่มารับบริการ |
|
เครื่องมือ : |
แบบประเมิน |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1.มีCPG และเครือข่าย STROKE FAST TRACK ตั้งแต่ระดับ ศสมช.-รพ.กาฬสินธุ์
2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลตนเองและญาติรวมทั้งสามารถเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดย ทำบัตรสื่อสารอาการF-A-S-T และเบอร์เรียกรถฉุกเฉิน,ทำCD หมอลำเปิดตามหอกระจายข่าวทุกหมู่บ้าน(แจกในวันประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านทั้งอำเภอ),ทำไวนิลป้ายประชาสัมพันธ์ความรู้และเบอร์รถฉุกเฉินในคลินิกโรคเรื้อรังตึกผู้ป่วยและทุกรพ.สต.,ทำแนวทางปฏิบัติFAST TRACK ให้ศูนย์ ศสมช.และรพ.สต .เพื่อประเมินและส่งต่อที่รวดเร็ว
3.เชื่อมโยงข้อมูลกลุ่มเสี่ยงจากการประเมินVCD RISK ถึงระดับหมอครอบครัวเพื่อการเข้าถึงที่รวดเร็วทันท่วงที
4.ทบทวนCASE และCPG ร่วมกับรพ.สต(จัดปลายมิย.59)
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2555 2556 2557 2558 2559 ตค.58-มีค.59
จำนวนวินิจฉัยผิดพลาด ,ล่าช้า(ราย) 0 1 1 1 1 0
ร้อยละonset to refer ภายใน 2ชั่วโมง 80 50 48 43.75 33.89 30.55
ร้อยละDoor to refer ภายใน 30นาที 100 NA 86 83.33 83.87 88.88
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
การเชื่อมโยงข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและเบอร์รถฉุกเฉินให้ทุกตำบลทั่วทั้งอำเภอเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการรักษาและเข้าถึงบริการเร็วขึ้น |
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)
|
|
|
|
|