|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำรายงาน |
บทความ/วิจัย เรื่อง : พัฒนาการดูแลผู้ป่วย STEMI |
ผู้แต่ง : |
นภัสนันท์ ภูขาว |
ปี : 2559 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
ผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดมีจำนวนเพิ่มขึ้นและยังขาดความรู้ความเข้าใจในอาการของโรครวมทั้งเมื่อเข้ารับบริการในสถานพยาบาลยังไม่ได้คัดกรองเพื่อให้ได้รับการดูแลทันท่วงที เกิดความรุนแรงของโรคและเสียชีวิตทั้งก่อนมาโรงพยาบาลและขณะรักษา ดั้งนั้นการคัดกรองที่รวดเร็ว รักษาเบื้องต้น และส่งต่อที่รวดเร็วมีระบบ FAST TRACK จะสามารถรักษาและลดอัตราการเสียชีวิต |
|
วัตถุประสงค์ : |
ผู้ป่วยได้รับการประเมิน คัดกรอง วินิจฉัย รักษาได้ถูกต้อง รวดเร็ว |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
ผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด |
|
เครื่องมือ : |
แบบประเมิน |
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
1.ประชาสัมพันธ์อาการเตือนในคลินิกโรคเรื้อรังและประชาชนทั่วไปทางหอกระจายข่าว
2.ทำป้ายประชาสัมพันธ์ จัดบอร์ด ในโรงพยาบาลและรพ.สต.
3.ใช้แนวทาง fast track ในการดูแลและส่งต่อ
4.ทำบัตรอาการเตือนและหมายเลขรถฉุกเฉินเมื่อมีอาการ
5.คัดกรองผู้ป่วย chest pain และ chest discomfort เพื่อประเมินอาการและทำEKG ทันที
6.ฝึกพยาบาลตรวจ trop-T ที่ ER เพื่อความรวดเร็วนอกเวลาราชการ
7.จัดหายาฉุกเฉินให้เพียงพอพร้อมใช้ รวมถึงการให้ SK
8.ใช้ SBAR ในการรายงาน
9.ส่งพยาบาลอบรมการอ่าน EKG
10. มีระบบ consult ทางไลน์ทั้งในรพ.และแม่ข่าย (รพ.กส. ,ศูนย์หัวใจสิริกิตติ์,รพศ.ขอนแก่น)
11.ทบทวน case อย่างต่อเนื่อง
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย2555 2556 2557 2558 2559(ต.ค.58-เม.ย.59)
1. Door to EKG ภายใน10นาทีในกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 80% 82.88 92.57 91.84 94.73 NA
2 Door to EKG ภายใน10นาทีในผู้ป่วยSTEMI 100% 66.66 100 100 96.60 96.15 1ราย
3. Door to trop-Iภายใน 15นาที 50% 43.2 50 90.16 66.5 71.42
4. Door to Drug ภายใน20นาที 50% 55 70 100 72.72 41.66
5. Door toRefer ภายใน 30นาที ›80% 31.66 60 72.91 72.72 17.64
6. อัตราป่วยตาย <30% 30 20 42.85 9.09 0
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)
|
|
|
|
|