ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI สถานะ : เสนอโครงร่าง
   บทความ/วิจัย เรื่อง : กางเกงป้องกันรังสี
ผู้แต่ง : กัญญาณัฐ หาญกุล ปี : 2560
     
หลักการและเหตุผล : บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ มีความไวต่อ รังสีเอกซ์ โดยเฉพาะผู้ป่วยเด็ก และเด็กแรกเกิดซึ่งอวัยวะสืบพันธุ์ยังมีการเจริญเติบโตอยู่ ซึ่งผลของรังสีต่ออวัยวะสืบพันธุ์จะส่งผลต่อทางพันธุกรรม (Gennetic Effect) และยังเพิ่มโอกาสการเกิดโรคมะเร็ง เนื้องอก เป็นเหมันหรือเกิดการแตกเหล่า (Mutation) ซึ่งมีผลกระทบถึงรุ่นลูกหลานได้ในการตรวจทางรังสี แม้ว่าขณะตรวจจะมีการโดนแสงเฉพาะพื้นที่ตรวจ แต่พื้นที่ใกล้อวัยวะสืบพันธุ์ ผู้ป่วยก็ยังได้รับรังสีกระเจิงจากการตรวจ งานรังสีการแพทย์ จึงได้ตัดกางเกง ตะกั่วโดยใช้วัสดุจากเสื้อตะกั่วที่ชำรุดแล้ว แต่มีบางส่วนที่ยังสามารถป้องกันรังสีได้ดี เพื่อเป็นอุปกรณ์ป้องกันรังสีเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ ในเด็ก และเด็กเล็ก เพื่อให้เป็นไปตามนิยามการให้บริการข้อ ความปลอดภัย ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการ  
วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันอันตรายจากรังสีบริเวณอวัยสืบพันธ์  
กลุ่มเป้าหมาย : - เด็กแรกเกิด – 1 ปี - เด็กอายุ 1 ปี – 7 ปี  
เครื่องมือ : 1. แบบประเมินผลการใช้กางเกงป้องกันรังสี 2. แบบประเมินความพึงพอใจของญาติ/ผู้ปกครอง  
ขั้นตอนการดำเนินการ : 1. ออกแบบรูปแบบกางเกงและตัดเย็บ 2. เสริมแผ่นตะกั่วในกางเกงที่ตัดตามแบบ 3. ทดลองใช้งานจริงขณะที่กลุ่มเป้าหมายมาเอ็กซเรย์ 4. ประเมินผลการใช้และประเมินความพึงพอใจของญาติ/ผู้ปกครอง  
     
ผลการศึกษา :  
ข้อเสนอแนะ :  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง