ประเภทบทความ/งานวิจัย : R2R สถานะ : จัดทำรายงาน
   บทความ/วิจัย เรื่อง : รายงานการสอบสวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน กรณี เหตุรถยนตพลิก คว่ํา ชวงหลักกิโลเมตรที่ 3 – 4 บนทางหลวงแผนดินหมายเลข 2336 (โนนเที่ยง – ยอดแกง) ตําบลยอดแกง อําเภอนามน จังหวดกาฬสินธุ ในวันที่ 9 ธันวาคม 2559
ผู้แต่ง : สุดาทิพย ศรีจันทรเติม, วานิช รุงราม, พรพิมล อินทรชิต, สุนทร โยธาฤทธิ์ ปี : 2560
     
หลักการและเหตุผล : ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) นามน ไดรับแจงจากแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลนามน ผานทางโทรศัพท เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 21.32 น. วาไดเกิดเหตุรถยนตพลิก คว่ํา ชวงหลักกิโลเมตรที่ 3 – 4 บนทางหลวงแผนดินหมายเลข 2336 (โนนเที่ยง – ยอดแกง) ตําบลยอดแกง อําเภอนามน จังหวดกาฬสินธุ มีผูบาดเจ็บและเสียชีวิตรวม 12 ราย จึงไดดําเนินการสอบสวนการบาดเจ็บใน วันที่ 10 ธันวาคม 2559 เวลา 09.00 น. รวมกับโรงพยาบาลนามน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบาด วิทยาเชิงพรรณนาของการบาดเจ็บและเสียชีวิต เพื่อหาสาเหตุ ปจจัยในการสนับสนุนการปองกันและควบคุม การบาดเจ็บจากการจราจรในที่เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้  
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาของการบาดเจ็บและเสียชีวิต เพื่อหาสาเหตุ ปจจัยในการสนับสนุนการปองกันและควบคุมการบาดเจ็บจากการจราจรในที่เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้  
กลุ่มเป้าหมาย : ผูบาดเจ็บและเสียชีวิตรวม 12 ราย  
เครื่องมือ : แบบสอบสวนการบาดเจ็บทางถนน  
ขั้นตอนการดำเนินการ : ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) นามนดําเนินการสอบสวนการบาดเจ็บในวันที่ 10 ธันวาคม 2559 เวลา 09.00 น. รวมกับโรงพยาบาลนามน โดยการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาของการบาดเจ็บและเสียชีวิต  
     
ผลการศึกษา : ผลการสอบสวนโรค จากการรวบรวมขอมูลการเกิดเหตุครั้งนี้ พบวา กอนเกิดเหตุรถยนตหมายเลข ทะเบียน 1 กม 7255 ไดออกเดินทางจากบานเลขที่ 145 ห มู ที่ 7 ตําบลนามน อําเภอนามน จังหวัด กาฬสินธุ ในวันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 19.30 น. โดยมีคนในรถ 12 คน (รวมคนขับ) เพื่อไปเที่ยวงานงิ้ว ที่อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ เมื่อเดินทางไปถึงบานหนองผาออม ตําบลหนองแวง อําเภอสมเด็จจึงไดรับ โทรศัพทของเพื่อนอีกหนึ่งกลุม จํานวน 5 คน ที่มารออยูที่หมู 7 ตําบลนามน จึงไดกลับรถเพื่อมารับ เมื่อมาถึง ที่เกิดเหตุ ชวงหลักกิโลเมตรที่ 3 - 4 เสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 2336 เขตตําบลยอดแกง อําเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ เวลาประมาณ 20.00 น. จากการสอบสวนผูประสบภัยที่ไมสลบและจดจําเหตุการณได ให ขอมูลวา “เมื่อมาถึงบริเวณที่เกิดเหตุ ซึ่งเปนทางโคงที่มีซอย เปนสามแยกตรงจุดทางโคง และมีปมน้ํามัน ซึ่ง คอนขางมืด มีรถจักรยานยนตสีดํา ไมทราบเลขทะเบียน ไมมีสัญญาณไฟไดเลี้ยวตัดหนารถของตนเพื่อเขาซอย หมูบานยอดแกง ตนเองตกใจเมื่อเห็นรถในระยะกระชั้นชิด จึงตะโดนเรียกชื่อคนขับ “พี่โจ” จากนั้นรถก็เลี้ยว เพื่อหักหลบรถจักรยานยนตคันดังกลาวขามไปอีกฝง เปนเหตุใหรถพลิกคว่ําและพุงลงคลองขางถนน” โดยมี รายละเอียดดังนี้ ลักษณะประชากรของผูบาดเจ็บและผูเสียชีวิต จากการสอบสวนเหตุการณครั้งนี้ พบผูประสบเหตุทั้งหมด 12 ราย โดยมีผูเสียชีวิตในที่เกิด เหตุ 1 ราย เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลนามน 11 ราย โดยไดรับการสงตอไปรักษาที่โรงพยาบาลกาฬสินธุ 6 ราย รับไวรักษาที่โรงพยาบาลนามน 1 ราย และอีก 4 ราย บาดเจ็บเล็กนอยจึงกลับบานได (ภาพที่ 1) ผลการติดตามขอมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตในอุบัติเหตุครั้งนี้ พบวา ผูบาดเจ็บมีจํานวน 11 ราย เปนชาย 6 ราย เปนหญิง 5 ราย มีอายุระหวาง 15 – 20 ป อายุเฉลี่ย 17.45 ป สวนผูเสียชีวิตเปน เพศชาย อายุ 14 ป มีอาการหมดสติ ไมรู สึกตัว และเลือดไหลออกจากปากตลอดเวลา จากการวิเคราะห ขอมูลลักษณะการบาดเจ็บตามสวนตาง ๆ ของรางกาย พบวา สวนใหญไดรับบาดเจ็บมากกวาหนึ่งสวนใน รางกาย โดยไดรับบาดเจ็บมาบริเวณลําตัว ศีรษะ ขาซาย ใบหนา แขนซาย แขนขวา และขาขวา ตามลําดับ โดยผูบาดเจ็บไมสลบและจดจําเหตุการณไดทุกคน (ภาพที่ 2) เหตุการณครั้ งนี้ถือวาเปนอุบัติเหตุที่มีความ รุนแรง ทั้งจากสภาพรถยนตและการบาดเจ็บ โดยมีการระบุตําแหนงที่นั่งไดอยางชัดเจน ดังภาพที่ 3 พฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ยานพาหนะ จากการสัมภาษณผูประสบเหตุเลาวา “พฤติกรรมของคนขับรถปกติ ไมมีลักษณะของการมึน เมา ดื่มสุรา หรือสูบบุหรี่ การใชความเร็วของรถปกติ ขับไมนาหวาดเสียว แตผูขับพึ่งกลับมาจากทํางานตางถิ่น ไดประมาณ 4 – 5 วัน โดยปกติไมไดจับกลุมหรือเดินทางรวมกันบอย ๆ แตวันเกิดเหตุเปนการนัดเพื่อไปเที่ยว งานงิ้วที่อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ โดยผูขับรถเปนเพียงคนเดียวที่คาดเข็มขัดนิรภัย สวนคนอื่น ๆ ไมได คาดเข็มขัดนิรภัย เนื่องจากนั่งอัดแนนในรถ เมื่อตนมองเห็นรถจักรยานยนตที่เลี้ยวตัดหนา จึงตกใจและตะโดน เรียกคนขับ “อายโจ” จากนั้นรถจึงพลิกค่ําและพุงลงขางทาง” สภาพยานยนตที่เกิดเหตุ รถที่เกิดเหตุเปนรถกระบะ 4 ประตู สีขาว หมายเลขที่เบียน 1 กม 7255 กรุงเทพมหานคร สภาพตัวรถไดรับความเสียหามาก อยูในสภาพพลิกค่ํา โครงสรางของรถยุบและถูกบีบอัดจากดานบน (หลังคา รถ) ลงมาถึงเบาะที่นั่ง มีรองรอยกระจกราว แตกรอบคัน ปายทะเบียนรถบิดงอ เบาะผูโดยสารมีการติดตั้งเข็ม ขัดนิรภัยที่มีสภาพสามารถใชงานได รถไดรับการแตง เชน วงลอ เปนตน (ภาพที่ 4) สภาพสิ่งแวดลอมที่เกิดเหตุ บริเวณที่เกิดเหตุ อยูบนทางหลวงหมายเลข 2336 ชวงหลักกิโลเมตรที่ 3 – 4 เปนถนนสอง เลน รถวิ่งสวนกัน มีเครื่องหมายจราจรบนพื้นถนนและไหลทางชัดเจนดี โดยเปนเสนแบงทิศทางการจราจร ปกติ มีลักษณะเปนเสนทึบสีเหลือง (หามแซง) เนื่ องจากเปนทางโคง จึงหามแซงเพราะเคยเกิดอุบัติเหตุ บอยครั้ง สภาพโดยทั่วไปของถนนอยูในสภาพดี ผิวการจราจรเปนลาดยางมะตอย ชองการจราจรแตละชอง กวางประมาณ 3.50 เมตร ไหลทางกวางประมาณ 80 เซนติเมตร กอนเขาสูถนนชวงที่เกิดอุบัติเหตุเปนเขต ชุมชนยอดแกง แตไมมีปายเตือนใหชะลอความเร็ว อีกทั้งถนนชวงที่เกิดเหตุไมมีไฟขางทางจะมีเฉพาะในเขต ชุมชนเทานั้น ทําใหผูขับขี่รถในตอนกลางคืนมองเห็นเฉพาะในรัศมีที่ไฟหนารถสองถึงเทานั้น ทั้งสองขางทาง ของถนนเปนทุงนาที่มีระดับต่ํากวาผิวถนนประมาณ 1.50 เมตร และมีตนไม กิ่งไม หญาล้ําเขามาในเสนทาง เดินรถ สรุปปจจัยที่นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บครั้งนี้ ประกอบดวย 1. สภาพถนนสองเลนที่ไมมีเกาะกลาง รถวิ่งสวนกันไปมา และมีรถบรรทุกขนาดใหญ และรถ ขนพืชพรรณทางการเกษตรวิ่งจํานวนมาก เปนปจจัยเสริมในการเกิดเหตุครั้งนี้ (ภาพที่ 5) 2. ผูขับรถพึ่งเดินทางกลับมาจากทํางานตางถิ่น 4-5 วัน อาจเกิดความไมคุนชินกับเสนทางที่ มีความเสี่ยง 3. ทั้งถนนชวงที่เกิดเหตุไมมีไฟขางทาง ทําใหผูขับขี่รถในตอนกลางคืนมองเห็นเฉพาะในรัศมี ที่ไฟหนารถสองถึงเทานั้น (ภาพที่ 6) 4. ไมมีปายเตือนใหชะลอความเร็ว หรือโคงอันตรายบริเวณจุดเสี่ยง 5. สภาพรถจักรยานยนตที่ไมพรอมใชงาน ชํารุด (ไมมีสัญญาณไฟ) กอใหเกิดความเสี่ยงที่จะ เกิดอุบัติเหตุ 6. ตนไม กิ่งไม หญาล้ําเขามาในเสนทางเดินรถบดบังทัศนวิสัยในการใชรถใชถนน (ภาพที่ 7) 7. ชวงทางโคงไมมีราวกั้น (ภาพที่ 8)  
ข้อเสนอแนะ : ขอเสนอแนะและมาตรการในการปองกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากเหตุการณครั้งนี้ ไดกําหนดมาตรการและขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. ควรมีปายเตือนขนาดใหญและไดมาตรฐาน สีสะทอนแสงไดในที่มืด 2. ปรับปรุงระบบไฟฟาสองสวางขางทางใหมีแสงสวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งจุดที่เสี่ยง ตางๆ 3. ปรับปรุงภูมิทัศนสองฝงถนนใหมองเห็นไหลถนนที่ชัดเจน ไมมีตนไม หญามาบดบัง 4. ควรมีแนวกั้นหรือรั้วกั้นแนวทางโคง 5. รณรงคใหมีการซอมบํารุงยานพาหนะใหพรอมใชงานอยูเสมอ  
     
รางวัลที่ได้รับ : ยังไม่ได้รับรางวัล  
     
  ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับเต็ม (Fulltext)