|
ประเภทบทความ/งานวิจัย : CQI |
สถานะ : จัดทำโครงร่าง |
บทความ/วิจัย เรื่อง : การให้ยาและการดูแลผู้ป่วยSTEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด(SK) |
ผู้แต่ง : |
นางสาว ขนิษฐา ไชยทองศรี ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ |
ปี : 2559 |
|
|
|
หลักการและเหตุผล : |
: ภาวะหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันชนิด STEMI จะเกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจมากขึ้นตามระยะเวลาที่ผ่านไป ดังนั้นการรักษาที่เป็นมาตรฐานในปัจจุบันคือ การให้ยาละลายลิ่มเลือดเพื่อเปิดหลอดเลือด การรักษาที่รวดเร็วภายใน 12 ชั่วโมง แรกหลังมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยได้ ฉะนั้นการรักษาผู้ป่วยในกลุ่มนี้ตามบริบทของโรงพยาบาลห้วยผึ้ง คือ การให้ยาละลายลิ่มเลือด และส่งต่อผู้ป่วยไปยัง รพ.ขอนแก่น
ปี 2559 มีการให้ยาละลายลิ่มเลือด ในผู้ป่วย STEMI พบว่า มีรายงานอุบัติการณ์ของหน่วยงาน คือ
1. ซักประวัติอะไรบ้างก่อนให้ยา
2. การบริหารยา ได้แก่ การเตรียมและผสมยา , ขนาดยาที่ให้ และการให้ยา
3.อาการผู้ป่วยขณะให้ และหลังให้ยาต้องเฝ้าระวังอะไรบ้าง
ทีม PCT จึงวางแผนดำเนินงานการจัดทำแนวทาง การใช้ยาละลายลิ่มเลือดและการดูแลผู้ป่วยขณะให้ยา เพื่อให้ เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้อง.
|
|
วัตถุประสงค์ : |
-เพื่อให้พยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง บริหารจัดการยาและดูแลผู้ป่วยขณะให้ยาและหลังให้ยาได้ถูกต้อง |
|
กลุ่มเป้าหมาย : |
- เจ้าหน้าที่บริหารยา และดูแลผู้ป่วยSTEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ |
|
เครื่องมือ : |
|
|
ขั้นตอนการดำเนินการ : |
-ที่ ER พยาบาลER ทำEKG >>>>>>>>รายงานแพทย์
-ผลEKG >>>>>>>>STEMI>>>>>>>>ให้ยา SK
แนวทางปฏิบัติในการให้ยา SK
แพทย์ 1. ประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาSK ตามแบบประเมินผู้ป่วย
2. ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับความจำเป็นในการให้ยาละลายลิ่มเลือด อธิบายถึงผลดีและ ภาวะแทรกซ้อนของยาSK.
พยาบาล 1.ให้ผู้ป่วยและญาติเซ็นใบยินยอมการได้รับยาละลายลิ่มเลือด ในแบบประเมินก่อนให้ยาละลายลิ่ม เลือด
2. ให้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้ามในการให้ยา ขนาด 1.5 ล้านยูนิต ในเวลา 60 นาที โดยเตรียมและผสมยาตามขั้นตอน
-ละลายยาด้วย0.9% NSS 10 ml.ควรฉีดสารละลายอย่างช้าๆ
- กลิ้งขวดยาอย่างช้าๆเพื่อให้ยาผสมเข้ากัน ห้ามเขย่า จะทำให้เกิดฟอง
-นำสารละลายที่ได้เจือจางผสมใน 0.9%NSS 100 ml
-ตรวจสอบดูว่ามีการละลายหมด หรือมีการเปลี่ยนสีก่อนให้ยากับผู้ป่วย
-ห้ามผสมกับยาชนิดอื่น
-ให้สารละลายทันทีหลังผสม เนื่องจากยาไม่มีส่วนผสมของสารกันเสีย และเก็บได้ 8 ชั่วโมง
3. เฝ้าระวังผลข้างเคียงและภาวะแทรกซ้อนของการให้ยาละลายลิ่มเลือด ดังนี้
- สังเกตอาการเจ็บหน้าอก อาการเหนื่อยและอาการทั่วไป โดยประเมินV/S .N/S และ Monitor EKG อย่างใกล้ชิด หลังผู้ป่วย ได้รับยา SK.
- ติดตาม EKG 12 lead ทุก 30 นาที.เพื่อประเมินการเปิดของหลอดเลือดหัวใจ หากอาการเจ็บหน้าอกลดลง และ EKG แสดง ST segment ลดต่ำลง หลังให้ยาแสดงว่าหลอดเลือดหัวใจน่าจะเปิด
การส่งต่อผู้ป่วย
- แพทย์ >>> ประสานกับ รพ.ขอนแก่น โดยการโทรศัพท์ หรือส่ง Line.
- พยาบาล >>>ต้องมีพยาบาล 2 คน.
>>>เตรียมอุปกรณ์และยาให้พร้อมใช้
>>> ประเมิน V/S,N/S ทุก 15 นาที.
>>>Obseve bleeding.
- พนักงานขับรถ >>> เตรียมรถ และตรวจ Check อุปกรณ์ให้พร้อมใช้งาน
|
|
|
|
|
ผลการศึกษา : |
|
|
ข้อเสนอแนะ : |
|
|
|
|
|
รางวัลที่ได้รับ : |
ยังไม่ได้รับรางวัล |
|
|
|
|
|
ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับโครงร่าง
|
|
|
|
|